109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

, บทความ / บล็อค

ภาพ-เชลยสงครามชาวอิตาเลี่ยนในประเทศอินเดียในค่ายเชลยสงครามหมายเลข 2 รวมกลุ่มเล่นดนตรี (ประมาณปี 1939-1945 ) เมื่อ 109 ปีที่แล้วในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 คณะกรรมการกาชาดระหว่างแระเทศ (ICRC) เข้าเยี่ยมผู้ต้องขังในเอเชียครั้งแรกในเอเชีย ในครั้งนั้น คณะผู้แทน ICRC เข้าเยี่ยมเชลยสงครามในอินเดีย และพม่าซึ่งณ เวลานั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ โดยแบ่งเป็นค่ายกักขังในอินเดีย 6 ที่ ...
น้ำ-งานประจำของทีมน้ำและที่อยู่อาศัย

น้ำ-งานประจำของทีมน้ำและที่อยู่อาศัย

, บทความ / บล็อค

การสู้รบและความรุนแรงนั้นได้พรากการเข้าถึงแหล่งน้ำไปจากผู้คน สิ่งนี้เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก  หน่วยงาน “น้ำและที่อยู่อาศัย” (WATHAB) ของ ICRC กำลังร่วมมือกับชุมชนต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อที่จะจัดหาน้ำให้กับเมืองต่าง ๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤต หากจะกล่าวว่าความจริงเป็นเหยื่อรายแรกของสงคราม น้ำนั้นก็นับได้ว่าเป็นเหยื่อรายที่สอง  ไม่ว่าจะเป็นบ่อน้ำ ท่อส่งน้ำ และ ปั๊มน้ำในเมืองและตามหมู่บ้านต่าง ๆ ล้วนเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบของการสู้รบ   ในกรณีของเมืองใหญ่ หากมีท่อประปาเสียหายเพียงหนึ่งท่อ ...
เซาท์ซูดาน ประเทศใหม่ ก้าวทันระบบสากล

เซาท์ซูดาน ประเทศใหม่ ก้าวทันระบบสากล

, บทความ / บล็อค

หลังจากที่ประกาศอิสรภาพได้ไม่นาน และหลังจากสงครามกลางเมืองหลายทศวรรษ ประเทศที่”ใหม่”ที่สุดในโลกก็เริ่มสร้างประเทศ    อย่างเป็นระบบและรวดเร็วเพื่อในทันโลก หนึ่งในประเด็นที่สำคัญที่รัฐบาลสาธารณรัฐเซาท์ซูดานให้ความสำคัญคือกฏหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือ IHL) ในมุมมองของกองทัพเซาท์ซูดานการที่ทหารมีความรู้เรื่องกฏหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และเคารพปฏิบัติตามนั้น เป็นการบ่งบอกว่ากองทัพนั้นเป็นมืออาชีพ Lt. Colonel Albino Awan จากกองทัพเซาท์ซูดาน และผู้ดูแลการอบรมครั้งที่ผ่านมาให้สัมภาษณ์ว่า: “จุดประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้เพื่อให้ทหารทุกนายตระหนักว่ากองทัพเซาท์ซูดานกำลังเป็นมืออาชีพ (professional) มากขึ้นตามมาตราฐานสากล ผมดีใจที่ทหารมีความสุข ...
ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

, บทความ / บล็อค

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (1914-1918) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาสงคราม” เป็นครั้งแรกของการทำสงครามในรูปแบบใหม่ ในสเกลใหญ่ โดยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น รถถัง เครื่องบินรบ และอาวุธเคมี ในการสู้รบที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั่วโลก ความเสียหายทางชีวิตและทรัพย์สินก็อยู่ในระดับประวัติการณ์ ประชากร (พลเรือนและทหาร) กว่า 37 ล้านคนเสียชีวิต ไม่นับผู้คนที่ได้รับบาดเจ็บ อีกเป็นจำนวนมาก ณ ตอนนั้นนอกจากจะมีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนสมรภูมิรบแล้ว คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ...
ประชากรผู้หญิงในประเทศอิรักทุกๆ 10 คน เป็นแม่ม่าย 1 คน

ประชากรผู้หญิงในประเทศอิรักทุกๆ 10 คน เป็นแม่ม่าย 1 คน

, บทความ / บล็อค

ด้วยความไว้เนื้อเชื่อใจของประชาคมโลก คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) มีบทบาททางด้านมนุษยธรรมที่ชัดเจนใน        ประเทศที่ประสบปัญหาจากภัยสงคราม ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาอาหาร น้ำดื่ม และเครื่องใช้ที่จำเป็นในยามฉุกเฉิน หรือช่วยเหลือทางด้าน       การแพทย์ นั้นคือภาพที่ปรากฏในข่าวที่เราเห็นกันอยู่บ่อยๆ แต่หลายคนอาจสงสัยว่า แล้วตอนที่สงครามสิ้นสุดลง ICRC ทำอะไรบ้าง อะไรคือมูลค่าหรือคุณประโยชน์ (added ...
ไต้ฝุ่นโบพา-ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง

ไต้ฝุ่นโบพา-ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง

, บทความ / บล็อค

หลังจากที่ภายุไต้ฝุ่นโบพาโหมกระหน่ำผ่านเกาะมินดาเนา ทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ไปไม่นาน  อาคารบ้านเรือนที่สำคัญเช่นโรงพยาบาลในทางตะวันออกของเกาะถูกทำลายไปกว่า 90%  และถือว่าเป็นเขตที่ได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุด ประชาชนกว่าสองแสนคนตกอยู่ในวิกฤต เหลือแต่เศษเหล็กเศษไม้ที่เคยเรียกว่าบ้าน  เพราะความต้องการทางมนุษยธรรมที่เร่งด่วนนี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) จึงต้องระดมทุนฉุกเฉินจากประชาคมโลกเป็นจำนวน 10 ล้าน สวิสฟรัง (หรือ 10.8 ล้านเหรียญสหรัฐ) “ไต้ฝุ่นได้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้กับชุมชนทางชายฝั่งตะวันออกของเกาะมินดาเนา โดยเฉพาะชุมชน Baganga, Cateel, Boston (ภาพบนสุด) ...
ICRC ลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยไต้ฝุ่นโบพา

ICRC ลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยไต้ฝุ่นโบพา

, บทความ / บล็อค

หลังจากพายุไต้ฝุ่นโบพา (Bopha) โหมกระหน่ำเกาะมินดาเนา สร้างความเสียหายให้กับประชาชนเป็นจำนวนมาก คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และสภากาชาดประเทศฟิลิปปินส์ ลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในจังหวัด ดาเวา โอเรียนเต็ล (Davao Oriental) ที่ได้รับความเสียหายมากที่สุด หัวหน้าฝ่ายสื่อสารองค์กร ICRC ในกรุงมะนิลา Cynthia Lee ได้โทรคุยกับตัวแทน ICRC Wilson Rondal ขณะปฏิบัติภารกิจในดาเวา โอเรียนเต็ล ...
วันอาสาสมัครโลก

วันอาสาสมัครโลก

, บทความ / บล็อค

ทุกๆวันอาสาสมัครทั่วทุกมุมโลกทำงานอย่างใกล้ชิดกับเจ้าหน้าที่จากองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดง อาสาสมัครที่พวกเราในเมืองไทยคุ้นเคยกันนั้นปฏิบัติหน้าที่ในภัยพิบัติธรรมชาติ แต่มีอาสาสมัครในอีกหลายประเทศที่เสี่ยงชีวิตช่วยเหลือผู้ประสบภัยสงครามจากความขัดแย้งและความรุนแรง วันที่ 5 ธันวาคมที่ผ่านมานอกจากจะเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังเป็นวันอาสาสมัครโลกอีกด้วย เชิญคลิกชมภาพอาสาสมัครจากทั่วทุกมุมโลกใน fan page ICRC ถ้าผู้อ่านสนใจเป็นอาสาสมัครกับหน่วยงานกาชาดสามารถติดต่อสภากาชาดไทยได้
ช่วงต่อของ ICRC

ช่วงต่อของ ICRC

, บทความ / บล็อค

คุณปีเตอร์ เมาเรอร์ Peter Maurer (ภาพบนขวา) สืบทอดตำแหน่งประธานต่อจากคุณจาค็อบ เคลเลนเบอร์เกอร์ Jakob Kellenberger  (ซ้าย) ประธานของ ICRC ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ซึ่งได้เกษียณเมื่อสิ้นสุดวาระที่สามของเขาในฐานะหัวหน้าองค์กร  โดยตำแหน่งประธานนี้  มีวาระการดำรงตำแหน่งสี่ปีและต่ออายุได้ โดยคุณปีเตอร์ได้รับการเลือกจากสภาของ ICRC (the Assembly) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มี   ...
สนทนากับตำรวจ มนุษยธรรมกับการบังคับใช้กฎหมาย

สนทนากับตำรวจ มนุษยธรรมกับการบังคับใช้กฎหมาย

, บทความ / บล็อค

เจ้าหน้าที่ตำรวจ 33 นายเดินเข้าไปในห้องประชุม อาจฟังดูเหมือนพล็อตเรื่องหนังแอ็คชั่นสุดระทึก แต่ที่จริงแล้วเจ้าหน้าที่เหล่านี้กำลัง      เข้าร่วมสัมมนาที่จัดโดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ร่วมกับศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนใต้ ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้ที่ได้คร่าชีวิตผู้คนเป็นจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นเพศ เชื้อชาติ หรือศาสนาใดก็ตาม และมีอีกหลายครอบครัวที่ต้องประสบกับความยากลำบาก ขาดเสาหลักของครอบครัวและรายได้ ที่แย่ไปกว่านั้นความรุนแรงยิ่งจะทวีคูณขึ้นทุกวัน ICRC ให้ความช่วยเหลือตามหลักการกาชาด โดยไม่เลือกข้างทางการเมือง และไม่เลือกปฎิบัติ ไม่ว่าผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงจะมีเชื้อชาติ ศาสนาหรืออาชีพใดๆ ตลอดระยะเวลา ...