คุณแม่ผู้ท้าทายความกลัวในทุกๆ วัน

คุณแม่ผู้ท้าทายความกลัวในทุกๆ วัน

, บทความ

การดูแลลูกสาว 3 คนในรัฐคะฉิ่นตามลำพังอาจมากพอจะทำให้ Aye Aye Win กลายเป็นฮีโร่ สิ่งที่ทำให้คุณแม่เลี้ยงเดี่ยวคนนี้พิเศษยิ่งกว่าคือ Aye Aye Win เป็นผู้พิการที่เสียขาขวาเพราะกับระเบิด แม้ร่างกายจะพิการ แต่ Aye Aye Win ไม่เคยหมดศรัทธาในชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเธอยังมีลูกน้อยทั้งสามคอยให้กำลังใจ “ฉันไม่เคยโทษใครในเรื่องที่เกิดขึ้น” เธอกล่าว แต่เธอจำได้เสมอว่าอะไรเกิดขึ้นในวันนั้น ...
เสียงที่มองเห็น –  ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

เสียงที่มองเห็น – ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

, บทความ

“ผมอายุ 33 ไม่เคยขึ้นเครื่องบินมาก่อน” Abdel Rahman Zagout ช่างภาพชาวปาเลสไตน์เอาชนะรางวัลประกวดภาพถ่ายของ ICRC ประจำปี 2018 ด้วยเซ็ทภาพวาดที่บอกเล่าเรื่องราวของวัยรุ่นในกาซ่า เป็นเวลาร่วม 10 ปี ที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยความขัดแย้งที่ส่งผลโดยตรงต่อสภาพเศรฐกิจ นักศึกษาจบใหม่กว่า 70 กลายเป็นคนตกงานในทันทีในขณะที่ บางส่วนเลือกเดินทางข้ามชายแดนไปตามหาอนาคตใหม่ในประเทศอียิปต์ ภาพถ่ายของ Zagout สะท้อนความฝันของวัยรุ่นที่เกิดและเติบโตท่ามกลางความขัดแย้งด้วยถ้อยคำที่ดังฟังชัด Reference: ...
คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

, News / ไทย

เจนีวา (ICRC) สถานการณ์ทางการเมืองในเยเมนอยู่ในช่วงวิกฤต กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ – ข้อกำหนดพื้นฐานว่าด้วยการปกป้องพลเรือน ถูกละเลยจากฝ่ายที่ทำการต่อสู้ ความเสียหายและภาวะหิวโหยกลายเป็นปัญหาใหญ่ ชาวเยเมนทั่วประเทศเผชิญหน้ากับภาวะความอดยากและยากจนแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน การแก้ปัญหาในเยเมน ต้องพึ่งพาความร่วมมือเร่งด่วนจากหลายภาคส่วน: กระบวนการทางการเมืองจะต้องกลับคืนสู่ภาวะปกติ พื้นที่ขัดแย้งจะต้องถูกกำหนดและควบคุมไม่ให้ลุกลาม ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมจะต้องไม่ถูกขัดขวาง ทั้งนี้ทั้งนั้น สิ่งที่สำคัญมากเป็นอันดับหนึ่ง คือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศหรือที่เราเรียกกันว่า ‘กฎแห่งสงคราม’ จะต้องได้รับการปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The International Committee ...
บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ใบอนุญาตผ่านทาง บัตรประจำตัว เงินสด’ เธอย้ำซ้ำแล้วซ้ำอีกเพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีอะไรที่ตกหล่น เธอคงให้อภัยตัวเองไม่ได้หากมีอะไรขาดหายไป ‘ข่าวจากครอบครัว เรื่องราวของเพื่อนบ้าน’ อย่าลืมบอกเขาว่าเธอคิดถึงเขามากแค่ไหน เพราะถ้าพลาดไป หมายถึงเธอต้องรอไปอีกร่วมหนึ่งเดือน ‘เสื้อผ้าชุดเก่า หนังสือที่เขาเคยอ่าน ภาพถ่ายที่เริ่มเลือนลาง และจดหมายที่มีลายมือของเขา’ เธอมองอีกครั้งก่อนออกเดินทาง ...
เผยปัญหาความรุนแรงทางเพศในยามสงคราม: รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี ค.ศ. 2018

เผยปัญหาความรุนแรงทางเพศในยามสงคราม: รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี ค.ศ. 2018

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการรางวัลโนเบลประกาศมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี ค.ศ. 2018 ให้แก่ นาเดีย มูราด (Nadia Murad) และ เดนิส มูเควเก นักรณรงค์ต่อต้านความรุนแรงทางเพศในยามสงคราม ข่าวนี้สร้างความหวังให้กับพลเรือน โดยเฉพาะในกลุ่มสตรี ที่เคยเผชิญกับประสบการณ์เลวร้ายในยามสงคราม เฮเลน เดอแฮม ผู้อำนวยการฝ่ายกฏหมายและนโยบายระหว่างประเทศของ ICRC แสดงความยินดีกับผู้รับรางวัลทั้งสอง และยกย่องการตัดสินใจของคณะกรรมการที่ดึงความสนใจมาสู่อาชญากรรมที่เกิดขึ้นในยามสงครามซึ่งมักจะไม่ถูกหยิบยกมาพูดถึง และเฮเลนยังได้กล่าวให้กำลังใจแก่ผู้ที่เคยประสบกับความรุนแรงทางเพศในสถานการณ์ความขัดแย้งรวมถึงผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ความรับผิดต่อการกระทำความรุนแรงทางเพศในยามสงคราม: ...
หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

, บทความ / บล็อค

ภาพความทรงจำครั้งเมื่อฉันไปเยือนพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมายังคงแจ่มชัด แม้ว่าในวันนั้นสภาพอากาศจะร้อนเหนอะหนะแต่ก็มีผู้คนเดินทางมายังพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เพื่อใช้เวลานึกคิดอย่างสงบนิ่ง ข้าพเจ้าสามารถสัมผัสได้ถึงความปรารถนาให้เกิดสันติภาพผ่านการกระทำของผู้คนที่ค่อยบรรจงวางดอกไม้และนกกระเรียนที่พับไว้อย่างประณีต ณ ฐานของอนุสรณ์ ญี่ปุ่นเป็นเพียงประเทศเดียวที่เคยประสบเคราะห์ภัยจากการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ โดยมีผู้รอดชีวิตจากระเบิดนิวเคลียร์หรือที่เรียกว่า ฮิบาคุชา (Hibakusha) จำนวนหลายพันคน ทิ้งไว้ซึ่งร่องรอยบาดแผลทางกายและจิตใจ บทเรียนที่โหดร้ายในเหตุการณ์ครั้งนี้จึงทำให้ประวัติและชื่อเมืองฮิโรชิมะกลายเป็นที่รู้จักทั่วโลก ดร. มาร์เซล ยูโนด จากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) ...
ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

, News / บทความ / ไทย

‘ความรุนแรงที่เราเห็นทั่วโลกมีความเชื่อมโยงชัดเจนกับภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ’ กล่าว ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ทำให้ความขัดแย้งภายในและระหว่างประเทศทวีความรุนแรงขึ้นแล้วในปัจจุบัน รัฐบาลควรทำให้แน่ใจว่าสถานการณ์นี้จะไม่แย่ลงกว่าเดิม’ ปีเตอร์ เมาเร่อ ประธาน ICRC ประธาน ICRC กล่าว ประธาน ICRC ให้สัมภาษณ์กับ Guardian Australia ว่า ประเด็นดังกล่าวกลายเป็นเงื่อนไขในการทำงานด้านมนุษยธรรมเร็วกว่าที่คิด ‘นี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวหากประเมินจากการทำงานของ ICRC ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ในพื้นที่อย่างโซมาเลีย หรือประเทศในแถบแอฟริกา ...
Hauwa Mohammed Liman เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และตัวประกันท่านที่สอง ถูกฆาตกรรมในประเทศในจีเรีย

Hauwa Mohammed Liman เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และตัวประกันท่านที่สอง ถูกฆาตกรรมในประเทศในจีเรีย

, บทความ / บล็อค

…เรารู้สึกสีกหดหู่ที่ต้องเขียนข้อความต่อไปนี้… คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เพิ่งได้รับข้อมูลระบุการเสียชีวิตของ Hauwa Mohammed Liman พยาบาลผดุงครรภ์ของเราหลังถูกจับเป็นตัวประกันเป็นเวลาร่วม 7 เดือน Hauwa ถือเป็นเพื่อนร่วมงานคนสำคัญและเจ้าหน้าท่ีทางการแพทย์คนที่สองที่ถูกพรากชีวิตหลังถูกจับเป็นตัวประกันระหว่างปฎิบัติหน้าที่ทางมนุษยธรรม ‘ข่าวการเสียชีวิตของ Hauwa ทำให้เราใจสลาย’ Patricia Danzi ผู้ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคแอฟริกากล่าว ‘เราร้องขอความเมตตา หวังเพียงว่าการพรากชีวิตที่ไม่มีความผิดจะไม่เกิดขึ้น ไม่มีอุดมการณ์ข้อไหน ...
‘ความรู้คือพลัง’ นักอุปกรณ์กาย 9 ท่าน กับการพัฒนาทักษะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการในอัฟานิสถาน

‘ความรู้คือพลัง’ นักอุปกรณ์กาย 9 ท่าน กับการพัฒนาทักษะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการในอัฟานิสถาน

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ชีวิตในอัฟกานิสถานไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับคนทั่วไป และยิ่งยากเข้าไปใหญ่เมื่อคุณเป็นผู้พิการในประเทศ หลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิชากายอุปกรณ์จากมหาวิทยาลัย Afghanistan national Abdul Qadir Najm นักกายอุปกรณ์ทั้ง 9 มองสถานการณ์ความขัดแย้งและจำนวนผู้พิการที่เพิ่มขึ้นทุกวัน จึงตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้เพื่อนร่วมชาติ Najm และเพื่อนร่วมอุดมการณ์อีก 8 ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

, บทความ / บล็อค

ในตอนก่อนหน้า เราได้พูดถึงที่มาและความสำคัญของกิจกรรมแข่งขันความรู้ด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือ IHL) กิจกรรมนี้จัดขึ้นทั้งในรูปแบบบทบาทสมมติ การว่าความศาลจำลอง ไปจนถึงการโต้วาที และมีการจัดการแข่งขันทั่วโลกร่วมทั้งในประเทศไทย ในบทนี้เราจะมาเล่าต่อ ว่าการเข้าร่วมแข่งขันในรายการที่ว่า สามารถสร้างประโยชน์ให้กับผู้เข้าแข่งขันไปจนถึงประเทศที่ให้การสนับสนุนได้อย่างไร เรียนรู้หลักการและคุณค่าทางมนุษยธรรมไปพร้อมกับตามหาเส้นทางอาชีพ การแข่งขัน  IHL อาศัยการจำลองสถานการณ์เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันนำความรู้จากบทเรียนมาปรับใช้กับเหตุการณ์จริง ไม่ว่าจะได้รับบทบาทสมมุติเป็นผู้แทน ICRC หรือที่ปรึกษากฎหมายของทั้งฝ่ายทหารและกลุ่มติดอาวุธ ผู้เข้าแข่งขันต้องให้เหตุผลที่เหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมเจรจาในประเด็นกฎหมายและมนุษยธรรมที่มีความแตกต่างกัน ...