ICRC

วัคซีน COVID-19 และ IHL: การประกันว่าประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งจะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเสมอภาค

วัคซีน COVID-19 และ IHL: การประกันว่าประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งจะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเสมอภาค

, บทความ / บล็อค

ในขณะที่ประเทศต่าง ๆ ต่อสู้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 กันอย่างหนักหน่วงอยู่นั้น ทั่วโลกก็ให้ความสนใจต่อการพัฒนาคิดค้นวัคซีนไปด้วย และแม้ว่าไวรัสจะส่งผลกระทบต่อทุกประเทศและประชาชนทุกคนโดยไม่แบ่งแยก แต่การควบคุมการแพร่ระบาดในสถานการณ์ที่มีการขัดกันทางอาวุธนั้นถือเป็นความท้าทายที่ไม่เหมือนที่ใด หากเมื่อมีวัคซีนแล้ว เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่า ทุกคน รวมถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตสงคราม จะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเท่าเทียมกัน และภาระผูกพันที่มีต่อบุคลากรทางการแพทย์และสถานอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการทางการแพทย์จะเป็นอย่างไรบ้าง ในบทความนี้ อเล็กซานเดอร์ ไบรเท็กเกอร์ ที่ปรึกษากฎหมายของ ICRC จะพาเราวิเคราะห์ถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในกรณีนี้ จวบจนถึงตอนนี้ ก็นับเป็นเวลาหลายเดือนแล้วที่นักวิจัยทั่วโลกต่างพยายามอย่างเต็มที่เพื่อพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด-19 โดยขณะที่ผมเขียนต้นฉบับนี้ ...
เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เมื่อวันที่  16-18 ธันวาคมที่ผ่านมา แผนกสุขภาพของ ICRC ได้ร่วมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะทำงานอันประกอบไปด้วย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์ และกรมพินิจและคุ้มครองเยาวชน จัดอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ...
มนุษยธรรมคืออะไร? อ่านมุมมองน่าสนใจผ่านศิลปินผู้ผลิตงานศิลปะ

มนุษยธรรมคืออะไร? อ่านมุมมองน่าสนใจผ่านศิลปินผู้ผลิตงานศิลปะ

, บทความ

“ศิลปะ” กับ “มนุษยธรรม” สองคำนี้สร้างแรงบันดาลใจให้แก่กันได้อย่างไร? พามารู้จักแรงบันดาลใจจากสามศิลปินผู้สร้างงานศิลปะเพื่อบอกเล่าเรื่องราวของการช่วยชีวิต Juli baker and summer กับงานมนุษยธรรมที่เป็นสีรุ้ง “คำว่ามนุษยธรรมเป็นโจทย์ที่นามธรรมมาก ต้องไปตีความทำความเข้าใจกับ 3 องค์กรอยู่ประมาณนึง ป่านตีความออกมาเป็นภาพด้านหลังซึ่งนำเสนอออกมาเป็นคนไม่ใส่อะไรเลย เพราะน่าจะแสดงถึงความเป็นมนุษย์มากที่สุด ที่เห็นอย่างแรกในภาพคือผู้หญิงถือดอกทานตะวัน ดอกไม้เป็นสิ่งที่ป่านชอบวาดอยู่แล้ว และมันเป็นตัวแทนความรู้สึกเชิงบวก พอดีป่านไปเจอว่าดอกทานตะวันเป็นตัวแทนของการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในงานของ ICRC ที่ด้านหลังมีภาพของกลุ่มคนหลายๆ สี ...
An unnecessary evil : การต่อสู้ทางวาทกรรมเรื่องความหมายของอาวุธนิวเคลียร์

An unnecessary evil : การต่อสู้ทางวาทกรรมเรื่องความหมายของอาวุธนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

 ‘Necessary Evil’ คือเครื่องบินโบอิ้ง B-29-45-MO Superfortress ที่ได้รับมอบหมายให้ถ่ายภาพผลกระทบจากการทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมาเมื่อปี 1945 คำให้การของบรรดาเหยื่อและผู้รอดชีวิตจากอาวุธนิวเคลียร์กระตุ้นให้เราจินตนาการถึงสิ่งที่เรามิอาจจินตนาการได้ คิดถึงสิ่งที่ไม่อาจคาดคิดได้ และเป็นปากเป็นเสียงให้กับความทุกข์ทรมานที่เกิดจากการระเบิดปรมาณูที่ไม่อาจบอกกล่าวออกมาได้เอง และเนื่องในโอกาสครบรอบ 75 ปี นับตั้งแต่การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ แมกนุส โลโวล์ด (Magnus Løvold) ที่ปรึกษาด้านนโยบายอาวุธประจำฝ่ายกฎหมายของ ICRC จึงออกมาเรียกร้องให้เราทุกคนร่วมกันให้เกียรติและระลึกถึงผู้รอดชีวิตที่สัมผัสกับอาวุธนิวเคลียร์เพื่อตระหนักถึงความเป็นจริงอันแสนโหดร้ายของระเบิดนิวเคลียร์ โดยมิต้องเสริมเพิ่มและลดทอนอะไรมากกว่าการห้ามและจำกัดเครื่องมือแห่งสงครามที่น่ากลัวและไม่ยุติธรรมนี้ ผมจำครั้งแรกที่ไปเยือนเมืองฮิโรชิม่าได้ ...
CALL FOR ARTISTS – เปิดรับผลงานศิลปะในหัวข้อ “มนุษยธรรมคืออะไร?”

CALL FOR ARTISTS – เปิดรับผลงานศิลปะในหัวข้อ “มนุษยธรรมคืออะไร?”

, บทความ / บล็อค

มองหาศิลปินผู้ผลิตงานศิลปะ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงมีความภูมิใจที่จะนำเสนอการประกวดวาดภาพครั้งแรกของเรา เปิดโอกาสให้ศิลปินไทยไม่จำกัดอายุ สามารถสร้างสรรค์ผลงานภายใต้หัวข้อ “มนุษธรรมคืออะไร”เพื่อชิงรางวัลหลากหลายพร้อมได้โอกาสจัดแสดงผลงานในงานนิทรรศการที่จะจัดขึ้นในปีนี้ที่กรุงเทพฯ ผู้เข้าแข่งขันสามารถศึกษาและส่งผลงานวาดภาพได้ในสามหัวข้อ -คณะกรรมการกาชาดระหว่าประเทศ (ICRC) -สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (IFRC) -กาชาดไทย (Thai Red Cross Society) อ่านรายละเอียดและวิธีการสมัครได้ในเอกสารด้านล่าง เอกสารแนบ ใบสมัครประกวดวาดภาพของกลุ่มองค์กรกาชาด เปิดรับสมัครผลงานตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 CALL ...
เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงมีถนนชื่อว่า ‘อังรี ดูนังต์’ ในกรุงเทพฯ?

เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงมีถนนชื่อว่า ‘อังรี ดูนังต์’ ในกรุงเทพฯ?

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

ถนนชื่อ “อังรีดูนังต์” ได้รับชื่อตามชื่อของผู้ให้กำเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ นายฌ็อง อังรี ดูนังต์ (Jean Henri Dunant) ตามคำร้องขอของสันนิบาตสภากาชาด (League of Red Cross Societies: ...
จากไฟป่าออสเตรเลียสู่ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่สงคราม

จากไฟป่าออสเตรเลียสู่ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

ความคิดเห็นจาก ลีโอนาร์ด บลาเซบี หัวหน้าสำนักงาน ICRC ประจำออสเตรเลีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกคือเรื่องไม่เป็นธรรม ความขัดแย้งเป็นสิ่งโหดร้าย หากสองอย่างเกิดขึ้นพร้อมกัน นั่นหมายถึงหายนะ มันอาจยากที่จะจินตนาการ แต่เป็นหน้าที่ของเราที่ต้องทำความเข้าใจ ทุกวันนี้มีผู้คนหลายล้าน กำลังได้รับความลำบากจากทั้งสองมหันตภัยในเวลาเดียวกัน ในปี 2020 ออสเตรเลียเพิ่งเผชิญกับเหตุไฟป่าครั้งใหญ่ โลกทั้งใบต้องต่อสู้กับโรคระบาด มันอาจเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องบอกว่า ปัญหาของโลกปัจจุบันเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบและแก้ไข ในตอนที่ออสเตรเลียประสบภัยจากไฟป่า ความเจ็บปวดของคนในชาติได้ส่งเสียงสะท้อนดังไปทั้งโลก มันอาจถึงเวลาแล้วเช่นกัน ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

, บทความ / บล็อค

มรดกยุคอาณานิคมใหม่ – เราฟังเสียงของใคร? ไม่ต้องสงสัยเลยว่า องค์กรด้านมนุษยธรรมนั้นได้ช่วยเหลือชีวิตคนนับล้านด้วยการปฏิบัติหน้าที่แนวหน้าในพื้นที่สุดอันตรายในโลก อย่างไรก็ตาม การดำเนินการด้านมนุษยธรรมบางประการนั้นยังคงฝังรากอยู่ในมรดกยุคอาณานิคมใหม่ ซึ่งหน่วงรั้งความพยายามในการส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าที่แท้จริง ทั้งนี้ ในการสร้างสถาบันที่มีความเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาติ ภาคหน่วยงานด้านมนุษยธรรมจะต้องยอมรับบทบาทของมรดกยุคอาณานิคมใหม่ที่ยังคงมีบทบาทอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการคุ้มครอง รวมทั้งภายในองค์กรด้านมนุษยธรรมเองด้วย ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านความเที่ยงธรรมในเชิงระบบมากที่สุด ดังนั้น มรดกยุคอาณานิคมใหม่จึงหมายถึง กฎหมาย นโยบาย และการดำเนินการต่าง ๆ ที่อยู่ในองค์กรด้านมนุษยธรรม ซึ่งบังคับใช้พลวัตของอำนาจอาณานิคมของผู้คนและสถาบันหรือองค์กรจากประเทศโลกที่หนึ่งที่กดขี่และใช้อำนาจเหนือประเทศโลกที่สามอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างชัด ๆ ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม  (Part 1)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 1)

, บทความ / บล็อค

หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรม จอร์จ ฟลอยด์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงการประท้วงที่ลุกลามไปเกือบทุกหนแห่งทั่วโลก ทำให้เราได้เผชิญหน้ากันเพื่อทบทวนและใคร่ครวญถึงประเด็นเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นที่ควรได้รับการจัดการมานานแล้ว และตอนนี้เราก็อยู่ในขั้นตอนที่สถาบันต่าง ๆ กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน หลังได้รับฟังประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อไปสู่การตัดสินใจว่า ทางสถาบันจะทำอย่างไรต่อสาธารณชนในการต่อสู้กับการเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียมของระบบ แต่การดำเนินการอย่างเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาตินั้นหมายถึงอะไร? แล้วข้อกำหนดเหล่านี้นำไปใช้กับการดำเนินการด้านมนุษยธรรมได้อย่างไรบ้าง? ในโพสต์นี้ ซามาน เรจาลี บรรณาธิการด้านเนื้อหาของ International Review of the ...
IHL Moot Court and Role Play Competition 2020

IHL Moot Court and Role Play Competition 2020

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดการ แข่งขัน IHL Moot Court and Role Play Competition 2020 รอบภาษาอังกฤษ ในวันเสาร์ที่ 10 และ วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม 2020 ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตท่าพระจันทร์ ...