IHL

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ลูกคือดวงใจของพ่อแม่’ ไม่ว่าจะในชาติใด วัฒนธรรมไหน ประโยคนี้ก็ยังเป็นจริงอยู่เสมอ ทุกวันนี้ยังมีครอบครัวอีกมาก ที่ต้องพลัดพรากจากกันเพราะภัยสงครามหรือความยากลำบาก การพาสมาชิกครอบครัวที่สูญหายให้ได้กลับมาเจอกัน เป็นหนึ่งในงานที่พวกเราชาว ICRC ภูมิใจ และนี่คือบทสนทนาระหว่างเรากับ พี่แอร์ – รัตนาภรณ์ พุ่มมั่น ...
The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

#คุณรู้หรือไม่? ในปี 1975 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ เปิดสำนักงานเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสงครามอินโดจีน จากวันนั้นถึงวันนี้ ICRC มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง มาฟังคุณงามพิศ สุริยมงคล หรือพี่จี๊ด เล่าถึงประสบการณ์ทำงานกว่า 30 ...
Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

500,000 คือจำนานผู้อพยพที่เดินทางจากประเทศต่างๆ มายังแม็กซิโกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า แต่ไม่มีใครรู้ว่า ท่ามกลางผู้คนมากมาย มีใครบ้างที่ไปถึงหรือไม่ถึงจุดหมายที่ตั้งใจ… เพื่อติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง Kathryn Cook-Pellegrin ช่างภาพของ ICRC เริ่มโปรเจคพิเศษที่จะนำเรื่องราวจากท้องถนน มาให้คนทางบ้านได้อย่างเราๆ ได้เข้าใจ ทุกวันนี้มีบุคคลพลัดถิ่นจากเหตุความไม่สงบในพิ้นที่ต่างๆ ...
การทำลายมรดกทางวัฒนธรรมคือการทำลายความเป็นมนุษย์

การทำลายมรดกทางวัฒนธรรมคือการทำลายความเป็นมนุษย์

, บทความ / บล็อค

  อนุสาวรีย์, งานศิลปะ, และแหล่งโบราณคดีต่างๆ ถูกเรียกรวมกันว่า `มรดกทางวัฒนธรรม’ การโจมตีสิ่งเหล่านี้เป็นมากกว่าการสร้างความเสียหายให้อิฐ ไม้ หรือโครงสร้างอาคาร แต่เป็นการทำลายความทรงจำ วัฒนธรรม และความภาคภูมิใจของมนุษยชาติ การจงใจทำลายมรดกทางวัฒนธรรมเข้าข่ายการก่ออาชญากรรมสงครามเป็นการโจมตีมนุษยชาติโดยรวม มาฟังความรู้สึกของประชาชนในพื้นที่ขัดแย้ง เมื่อความทรงจำ ประวัติศาสตร์ และความเชื่อของพวกเขา ถูกทำลายจากเหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศ เพื่อปกป้องอนาคตจีงต้องปกป้องอดีต การโจมตีวัตถุทางวัฒนธรรม คือการโจตีอัตลักษณ์ ความทรงจำ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ...
การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

อย่างที่เราได้ทราบกันไปแล้วในบทความก่อนหน้าว่าเครื่องหมายกาชาดเป็นเครื่องหมายที่ได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3 ของอนุสัญญาเจนีวา  เครื่องหมายกาชาดจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการคุ้มครองบุคลากรและผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมและด้านการแพทย์ในกรณีที่เกิดข้อพิพาททางอาวุธ โดยเครื่องหมายดังกล่าวจะติดอยู่กับยานพาหนะทางการแพทย์ สิ่งก่อสร้าง หรือตัวบุคคล ภายใต้ขอบเขตของอนุสัญญาเจนีวารวมถึงพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3  เช่น หน่วยแพทย์ในกองทัพ โรงพยาบาลของพลเรือน เป็นต้น นอกจากเครื่องหมายกาชาดแล้ว อนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ ...
เส้นทางสู่ฮ่องกง 2560-สัมภาษณ์พิเศษทีมน้องๆจากกัมพูชา

เส้นทางสู่ฮ่องกง 2560-สัมภาษณ์พิเศษทีมน้องๆจากกัมพูชา

, บทความ / บล็อค

การแข่งขันศาลจำลองในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่ประเทศกัมพูชาได้ผู้ชนะคือ น้องลินนา ซามชัย และน้องรัตนะ รัดดา จากมหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ประเทศกัมพูชา  วันนี้เราจะไปพูดคุยกับน้องๆทั้งสองคนกันค่ะ ICRC-อยากให้น้องๆช่วยแนะนำตัวด้วยค่ะ ลินนา-ดิฉันชื่อ ลินนา ซามชัย นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะนิติศาสตร์หลักสูตรภาษาอังกฤษและ เอกกฎหมายกัมพูชา มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ค่ะ รัตนะ-ผมชื่อรัตนะ รัดดา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ...
เส้นทางสู่ฮ่องกง 2560-การแข่งขันว่าความศาลจำลองฯระดับเอเชียแปซิฟิค

เส้นทางสู่ฮ่องกง 2560-การแข่งขันว่าความศาลจำลองฯระดับเอเชียแปซิฟิค

, บทความ / บล็อค

ฤดูการแข่งขันว่าความศาลจำลองในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศเริ่มต้นขึ้นอีกครั้งในปีนี้ โดยการแข่งขันจะมีขึ้นใน 4 ประเทศได้แก่ ไทย สปป.ลาว เวียดนามและกัมพูชา จนถึงขณะนี้เราได้ผู้ชนะการแข่งขันว่าความศาลจำลองฯ มาแล้ว 2 ประเทศคือ ตัวแทนจากประเทศไทยและสปป ลาว ซึ่งในโอกาสนี้ทีมงาน ICRC ได้มีโอกาสพูดคุยกับน้องๆที่ชนะการแข่งขันว่าความศาลจำลองฯจากประเทศไทยซึ่งเป็นทีมจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เราจะไปพูดคุยกับน้องๆที่เป็นตัวแทนของทีมกันเลยค่ะ ขอขอบคุณน้องณัฐธิดา ทวีเจริญสำหรับภาพสวยๆทั้งหมด ICRC-อยากให้น้องๆช่วยแนะนำตัวด้วยค่ะ ไอริณ-หนูชื่อไอริณ อิทธิสารรณชัย ...
ICRC กับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

ICRC กับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ร่วมกับคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการบรรยายพิเศษเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law (IHL) ) ในหัวข้อ พิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 1: ข้อท้าทายสำคัญ ซึ่งการบรรยายพิเศษในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559  การบรรยายในปีนี้ได้รับเกียรติจากนายมาซาโยชิ มิตะ ผู้แทนองค์กรระดับอาวุโสของคณะกรรมการชาดระหว่างประเทศเป็นผู้บรรยาย การบรรยายพิเศษเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศให้แก่นิสิตนักศึกษาและประชาชนที่สนใจ ...
การประชุมรัฐภาคีว่าด้วยสนธิสัญญาการค้าอาวุธครั้งที่ 2

การประชุมรัฐภาคีว่าด้วยสนธิสัญญาการค้าอาวุธครั้งที่ 2

, บทความ / บล็อค

ในระหว่างวันที่ 22-26 สิงหาคม 2559 นี้ได้มีการประชุมว่าด้วยสนธิสัญญาการค้าอาวุธ หรือ ATT ครั้งที่ 2 ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งประเด็นสำคัญจะเน้นไปที่การควบคุมอาวุธเพื่อป้องกันความรุนแรงทางเพศ การเคลื่อนย้ายอาวุธเข้าไปในพื้นที่ความขัดแย้ง การจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือประเทศที่ต้องการรับรองสนธิสัญญา และ ประเด็นแวดล้อมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง คริสทีน เบียร์ลี่ รองประธานของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ได้กล่าวระหว่างการเปิดประชุมรัฐภาคีว่าด้วยสนธิสัญญาการค้าอาวุธ (ATT)เรียกร้องให้ประเทศต่างๆทั่วโลกให้ยุติการเคลื่อนย้ายอาวุธและเครื่องกระสุนไปให้กับกลุ่มต่างๆที่เคลื่อนไหวอยู่ในพื้นที่ๆมีการขัดกันทางอาวุธและละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ...
กฎกติกาสงครามฉบับย่อ

กฎกติกาสงครามฉบับย่อ

, บทความ / บล็อค

ในสถานการณ์การสู้รบ “กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ” คือ เครื่องมือที่ทรงพลังในการปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งต้องได้รับการคุ้มครอง ไอซีอาร์ซีมุ่งมั่นสร้างความตระหนักถึงวิธีปฏิบัติตามหลักสากลในสถานการณ์การสุ้รบ       ในประเทศต่างๆมากว่า 150 ปี และเรายังให้การสนับสนุนการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา “กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ” ของโรงเรียนเหล่าทหารพระธรรมนูญ สำนักปลัดกระทรวงกลาโหม