humanitarian

จากไฟป่าออสเตรเลียสู่ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่สงคราม

จากไฟป่าออสเตรเลียสู่ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

ความคิดเห็นจาก ลีโอนาร์ด บลาเซบี หัวหน้าสำนักงาน ICRC ประจำออสเตรเลีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกคือเรื่องไม่เป็นธรรม ความขัดแย้งเป็นสิ่งโหดร้าย หากสองอย่างเกิดขึ้นพร้อมกัน นั่นหมายถึงหายนะ มันอาจยากที่จะจินตนาการ แต่เป็นหน้าที่ของเราที่ต้องทำความเข้าใจ ทุกวันนี้มีผู้คนหลายล้าน กำลังได้รับความลำบากจากทั้งสองมหันตภัยในเวลาเดียวกัน ในปี 2020 ออสเตรเลียเพิ่งเผชิญกับเหตุไฟป่าครั้งใหญ่ โลกทั้งใบต้องต่อสู้กับโรคระบาด มันอาจเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องบอกว่า ปัญหาของโลกปัจจุบันเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบและแก้ไข ในตอนที่ออสเตรเลียประสบภัยจากไฟป่า ความเจ็บปวดของคนในชาติได้ส่งเสียงสะท้อนดังไปทั้งโลก มันอาจถึงเวลาแล้วเช่นกัน ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

, บทความ / บล็อค

มรดกยุคอาณานิคมใหม่ – เราฟังเสียงของใคร? ไม่ต้องสงสัยเลยว่า องค์กรด้านมนุษยธรรมนั้นได้ช่วยเหลือชีวิตคนนับล้านด้วยการปฏิบัติหน้าที่แนวหน้าในพื้นที่สุดอันตรายในโลก อย่างไรก็ตาม การดำเนินการด้านมนุษยธรรมบางประการนั้นยังคงฝังรากอยู่ในมรดกยุคอาณานิคมใหม่ ซึ่งหน่วงรั้งความพยายามในการส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าที่แท้จริง ทั้งนี้ ในการสร้างสถาบันที่มีความเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาติ ภาคหน่วยงานด้านมนุษยธรรมจะต้องยอมรับบทบาทของมรดกยุคอาณานิคมใหม่ที่ยังคงมีบทบาทอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการคุ้มครอง รวมทั้งภายในองค์กรด้านมนุษยธรรมเองด้วย ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านความเที่ยงธรรมในเชิงระบบมากที่สุด ดังนั้น มรดกยุคอาณานิคมใหม่จึงหมายถึง กฎหมาย นโยบาย และการดำเนินการต่าง ๆ ที่อยู่ในองค์กรด้านมนุษยธรรม ซึ่งบังคับใช้พลวัตของอำนาจอาณานิคมของผู้คนและสถาบันหรือองค์กรจากประเทศโลกที่หนึ่งที่กดขี่และใช้อำนาจเหนือประเทศโลกที่สามอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างชัด ๆ ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม  (Part 1)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 1)

, บทความ / บล็อค

หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรม จอร์จ ฟลอยด์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงการประท้วงที่ลุกลามไปเกือบทุกหนแห่งทั่วโลก ทำให้เราได้เผชิญหน้ากันเพื่อทบทวนและใคร่ครวญถึงประเด็นเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นที่ควรได้รับการจัดการมานานแล้ว และตอนนี้เราก็อยู่ในขั้นตอนที่สถาบันต่าง ๆ กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน หลังได้รับฟังประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อไปสู่การตัดสินใจว่า ทางสถาบันจะทำอย่างไรต่อสาธารณชนในการต่อสู้กับการเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียมของระบบ แต่การดำเนินการอย่างเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาตินั้นหมายถึงอะไร? แล้วข้อกำหนดเหล่านี้นำไปใช้กับการดำเนินการด้านมนุษยธรรมได้อย่างไรบ้าง? ในโพสต์นี้ ซามาน เรจาลี บรรณาธิการด้านเนื้อหาของ International Review of the ...
ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

75 ปี ผ่านไปหลังระเบิดปรมาณูลูกแรกถูกใช้เพื่อถล่มเมืองฮิโรชิมะจนราบเป็นหน้ากลอง ทุกวันนี้ผลกระทบของระเบิดยังคงเป็นที่พูดถึง ความกลัวต่อสงครามนิวเคลียร์ที่อาจเกิดขึ้นยังคงติดอยู่ในใจและไม่ว่าสงครามเย็นจะจบไปกว่า 20 ปี กำแพงเบอร์ลิน – สัญลักษณ์ของการต่อสู้ระหว่างสองขั้วอำนาจถูกทำลาย ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ถึงอย่างนั้น โลกหลังสงครามนิวเคลียร์และผลกระทบอันเลวร้ายหากอาวุธที่ว่าถูกนำมาใช้ ยังคงได้รับการเล่าขานและตีความต่อไปผ่านแผ่นฟิล์ม วันนี้เราได้ลองรวมรวมภาพยนต์ที่เล่าถึงหายนะของโลกหลังสงครามนิวเคลียร์ การตีความของผู้กำกับแต่ละท่านอาจให้ภาพต่างกันไป แต่สิ่งที่ทุกท่านเห็นร่วมกัน คือวันโลกาวินาศคงมาถึงในทันทีหากมีการใช้ระเบิดที่ว่าระเบิดในสักวัน Dr. Strangelove or: How ...
เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...
การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ / บล็อค

ในการร่วมกันรับมือของเราต่อสถานการณ์ COVID-19 ในเขตการสู้รบนั้น การปฏิบัติตามบทบัญญัติสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ คือสิ่งสำคัญจำเป็น เพื่อให้ความต้องการของชุมชน ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ และหน่วยงานรัฐ ในห้วงเวลาอันยากลำบากเป็นประวัติการณ์นี้ ได้รับการสนองตอบอย่างเพียงพอและเหมาะสม เราทุกคนต่างกำลังเผชิญกับสถานการณ์วิกฤตร่วมกันทั่วโลก และ COVID-19 ไม่ได้สนใจเรื่องพรมแดนระหว่างประเทศหรือคำนึงถึงผู้มีอำนาจหรือความมั่งคั่ง แต่กระนั้น แม้ไวรัสจะเดินทางไปแพร่เชื้อให้ทุกคนในทุกหนแห่งโดยไม่เลือกหน้า แต่ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ของไวรัสชนิดนี้กลับไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน พลเรือนที่ติดอยู่ท่ามกลางการสู้รบ ไม่ว่าจะเป็นผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก รวมทั้งผู้พลัดถิ่นจากสถานการณ์ความรุนแรงและผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศที่ จากการสู้รบ ...
โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

, บทความ / บล็อค

คงไม่ใช่เรื่องใหม่หากจะกล่าวว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ทั่วโลกเกิดความกังวลในหลายปัจจัย: ความกลัวต่อการติดเชื้อไวรัสและทำให้ทั้งครอบครัวป่วยเป็นโรค ความวิตกกังวลเกี่ยวกับมาตรการและการกักตัว ความทุกข์ที่ต้องห่างไกลจากสมาชิกครอบครัวที่เคยพบหน้า ความเครียดต่อภาวะหยุดชะงักของโลกที่อาจนำไปสู่ผลกระทบในระยะยาว ท่ามกลางเหตุผลมากมาย หลายชีวิตที่ต้องต่อสู้กับโรคร้ายไปพร้อมๆ สถานการณ์ความขัดแย้งที่ยังคุกรุ่น ความกังวลของพวกเขา อาจะเพิ่มเป็นเท่าทวีคูณ ICRC มีความกังวลว่าสถานการณ์ดังกล่าว อาจทำให้ความเครียดในแต่ละพื้นที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากและการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตของเรา ก็เป็นหนึ่งในเสาหลักเพื่อต่อสู้กับวิกฤตโควิด-19 นอกจากการปรับกิจกรรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน ICRC ยังได้ตั้งหน่วยความช่วยเหลือในด้านโควิด-19 ผ่านการทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อแบ่งปันวิธีการจัดการกับความเครียด ความกังวล และการถูกตีตรา รวมไปถึงการให้คำปรึกษาทางจิตใจต่ออาสาสมัครและบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานในแนวหน้า ...
จากไข้หวัดสเปนถึงโควิด-19: บทเรียนจากโรคระบาดและสงครามโลกครั้งที่ 1

จากไข้หวัดสเปนถึงโควิด-19: บทเรียนจากโรคระบาดและสงครามโลกครั้งที่ 1

, บทความ / บล็อค

โรคระบาดใหญ่ในปี 1918-1919 หรือที่รู้จักกันในนาม ไข้หวัดสเปน เป็นวิกฤตการณ์ด้านสุขภาพที่หนักหนามากที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ ความวุ่นวายและความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงทุกด้าน หากเหตุการณ์โรคระบาดใหญ่ที่มาพร้อมๆ กับสงครามจะฝากบทเรียนอะไรให้กับมนุษยชาติ สิ่งนั้นอาจะเป็นข้อความสำคัญที่ทำให้เรารับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ดียิ่งขึ้น ไข้หวัดใหญ่ในปี 1918 เริ่มต้นขึ้นในขณะที่การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 ยังดำเนินไปในปีสุดท้าย ความเสียหายของสงครามกำลังพุ่งถึงขีดสุด ในขณะที่ขีดความสามารถในการรับมือกับโรคระบาด ลดต่ำลงจนน่าตกใจ การแพร่ระบาดของโรคร้ายปรากฎขึ้นสามระลอก ระลอกแรกในฤดูใบไม้ผลิของปี  1918 ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...
กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

, News / กลุ่มองค์กรกาชาด / บล็อค / ไทย

เจนีวา-กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ประกาศระดมทุนฉุกเฉินจำนวน 800 ล้านสวิสฟรังก์ หรือประมาณ 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบางให้สามารถยับยั้งและฟื้นฟูเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) แม้ว่าเชื้อไวรัส COVID-19 จะแพร่ระบาดไปทั่วโลกแล้วก็ตาม แต่การช่วยให้ผู้คนเข้าถึงทรัพยากรที่จำเป็นจะสามารถช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อและลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้นอยลง ฟรานเซสโก ร็อกกา ...