กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยวงวงเดือนแดงระหว่างประเทศ

เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เมื่อวันที่  16-18 ธันวาคมที่ผ่านมา แผนกสุขภาพของ ICRC ได้ร่วมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะทำงานอันประกอบไปด้วย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์ และกรมพินิจและคุ้มครองเยาวชน จัดอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...
กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

, News / กลุ่มองค์กรกาชาด / บล็อค / ไทย

เจนีวา-กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ประกาศระดมทุนฉุกเฉินจำนวน 800 ล้านสวิสฟรังก์ หรือประมาณ 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบางให้สามารถยับยั้งและฟื้นฟูเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) แม้ว่าเชื้อไวรัส COVID-19 จะแพร่ระบาดไปทั่วโลกแล้วก็ตาม แต่การช่วยให้ผู้คนเข้าถึงทรัพยากรที่จำเป็นจะสามารถช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อและลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้นอยลง ฟรานเซสโก ร็อกกา ...
สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

, บทความ / บล็อค

เนื่องในวาระครบรอบอนุสัญญาเจนีวา บรรดาผู้ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านมนุษยธรรมและผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายได้ใช้โอกาสนี้สะท้อนบทเรียนที่ได้รับจากสนธิสัญญาทั้งสี่ฉบับที่ได้รับการให้สัตยาบันอย่างเป็นสากลและเป็นที่ยอมรับตลอดระยะเวลาเจ็ดทศวรรษแห่งสงคราม บทความนี้ต่อยอดมาจากการศึกษาด้านอภิปรัชญา (metaphysical) ของ Helen Durham เกี่ยวกับข้อท้าทายทั้งในอดีตและปัจจุบันที่กฎหมายมนุษยธรรมกำลังเผชิญอยู่ บทความนี้จึงได้ทำการสำรวจและแสดงเหตุผลหักล้างข้อกล่าวอ้างที่มักจะถูกนำมาใช้อยู่เสมอ ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นนักวิชาการและมีส่วนผลักดันกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างเปิดเผย ข้าพเจ้าได้สังเกตเห็นปัญหาของวาทกรรมที่ใช้กล่าวถึงอนุสัญญาเจนีวา เนื้อความสำคัญของวาทกรรมดังกล่าวคือ “ข้าพเจ้าเห็นแต่ความรุนแรงและความวุ่นวายเกิดขึ้นบนโลก การเผยแพร่บทกฎหมายเป็นสิ่งที่ดีอยู่ก็จริง แต่บทบัญญัติดังกล่าวถูกยกร่างขึ้นในยุคสมัยที่โฉมหน้าของสงครามนั้นแตกต่างออกไป แล้วทหารที่สู้รบในแนวรบจะเข้าใจกฎหมายสงครามหรือไม่ ทั้งนี้มิต้องกล่าวถึงการปฏิบัติตามกฎหมายเช่นว่า” ข้าพเจ้าจะไม่ยอมคล้อยตามข้อกังขานี้ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ไม่ได้มีเฉพาะการกระทำอันโหดร้ายทารุณในเขตที่เกิดความขัดแย้ง ดังที่รายงานบนหน้าหนังสือพิมพ์  เพื่อค้นหาความจริงข้าพเจ้าจึงนำข้อกล่าวอ้างสามประการมาตรวจสอบด้วยพยานหลักฐานที่คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ...
“ถ้าลูกชายผมกลับมามองเห็นได้ ผมจะดีใจที่สุดเลย”

“ถ้าลูกชายผมกลับมามองเห็นได้ ผมจะดีใจที่สุดเลย”

, บทความ / บล็อค

ลึกเข้าไปในฝั่งตรงข้ามประเทศเพื่อนบ้านเด็กชาวกะเหรี่ยงสองคนพบของเล่นประหลาด ด้วยความนึกสนุกตามประสา พวกเขาหยิบวัตถุชิ้นใหม่ขึ้นมา นำไปกระแทกเข้ากับตอไม้เข้าอย่างแรง เสียงระเบิดดังขึ้นในทันที เด็กชายวัย 9 ขวบเสียชีวิต เด็กชายวัย 7 ขวบ บาดเจ็บสาหัส ซอกูเต ยังมีลมหายใจ พ่อของเขาใช้เวลา 6 ชั่วโมงพาลูกชายตัวน้อยข้ามมายังโรงพยาบาลฝั่งไทย เด็กชายหายใจรวยรินแทบไม่รู้สึกตัว ร่างกายที่โชกไปด้วยเลือดทำให้คุณพ่อแทบใจสลาย “ตอนที่เจอลูก คิดว่าคงไม่รอดแล้ว แต่คุณหมอบอกว่าลูกยังมีชีวิต น่าจะส่งมาให้ทางโรงพยาบาลที่ไทยต่อ ...
#รู้หรือไม่ สิ่งแวดล้อมก็ได้รับการปกป้องจากกฎแห่งสงคราม

#รู้หรือไม่ สิ่งแวดล้อมก็ได้รับการปกป้องจากกฎแห่งสงคราม

, บทความ / บล็อค

ตั้งแต่ปี 1946-2010 ความขัดแย้งเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อประชากรสัตว์ป่าในหลายพื้นที่ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศไม่เพียงให้ความคุ้มครองชีวิตมนุษย์แต่ยังปกป้องสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ไม่ใช่เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อผู้คน แต่เพราะมูลค่าที่ยิ่งใหญ่ของสิ่งแวดล้อมต่อโลกทั้งใบ สงครามมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่ คำถามนี้คงตอบไม่ยาก แต่สงครามมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากแค่ไหน? คือคำถามที่เราจะพาไปหาคำตอบ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศห้ามใช้สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นอาวุธโจมตี รวมไปถึงการแทรกแซงทางธรรมชาติอย่างการใช้สารเคมีเพื่อทำลายสมดุลทางธรรมชาติของภูมิภาค หรือการตั้งใจโจมตีทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ยกตัวอย่างเช่น การระเบิดบ่อน้ำมันของฝ่ายตรงข้าม ทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมากกระจายเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ส่งผลกระทบต่อปศุสัตว์และสิ่งแวดล้อม เรื่องนี้อาจลามไปไกลถึงประเด็นก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน แม้สิ่งแวดล้อมจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย แต่หลายครั้งที่ผลเสียหายจากสงคราม ลามไปถึงสัตว์ป่าอย่างไม่ได้ตั้งใจ ในโมซัมบิกสงครามกลางเมือง 15 ...
ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

การดูแลฝูงปศุสัตว์ให้มีสุขภาพดีช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ในประเทศที่มีความขัดแย้ง คุณต้องเตรีมพร้อมที่จะอพยพตลอดเวลา การเลี้ยงสัตว์ตอบโจทย์ข้อจำกัดที่ว่า เพราะมีความคล่องตัวสูงกว่าไม่เหมือนการทำเกษตรกรรม”  Ada Jacobsen ผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์ของ ICRC กล่าวระหว่างการจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้ฝูงสัตว์ในหุบเขา Maura Hills “ถ้าไม่มีปศุสัตว์เป็นของตัวเอง ก็เหมือนคุณไม่ใช่ชาวซูดานใต้ ” ...
ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) รู้สึกตกใจและเสียใจต่อเหตุการณ์ลอบยิงเจ้าหน้าที่ ขณะกำลังเดินทางไปเยี่ยมเรือนจำในเมืองตาอิช (Taiz) ประเทศเยเมน นาย Hanna Lahoud เป็นชาวเลบานอน เริ่มทำงานกับ ICRC ตั้งแต่ปี 2553 ตลอดเวลาเกือบ ...
The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ลูกคือดวงใจของพ่อแม่’ ไม่ว่าจะในชาติใด วัฒนธรรมไหน ประโยคนี้ก็ยังเป็นจริงอยู่เสมอ ทุกวันนี้ยังมีครอบครัวอีกมาก ที่ต้องพลัดพรากจากกันเพราะภัยสงครามหรือความยากลำบาก การพาสมาชิกครอบครัวที่สูญหายให้ได้กลับมาเจอกัน เป็นหนึ่งในงานที่พวกเราชาว ICRC ภูมิใจ และนี่คือบทสนทนาระหว่างเรากับ พี่แอร์ – รัตนาภรณ์ พุ่มมั่น ...
The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

#คุณรู้หรือไม่? ในปี 1975 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ เปิดสำนักงานเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสงครามอินโดจีน จากวันนั้นถึงวันนี้ ICRC มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง มาฟังคุณงามพิศ สุริยมงคล หรือพี่จี๊ด เล่าถึงประสบการณ์ทำงานกว่า 30 ...