เสริมสร้างมนุษยธรรม

30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? อัลเบอร์โต้ ไคโร กับ 30 ปีเพื่อฟื้นฟูชีวิตผู้พิการในอัฟกานิสถาน

30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? อัลเบอร์โต้ ไคโร กับ 30 ปีเพื่อฟื้นฟูชีวิตผู้พิการในอัฟกานิสถาน

, บทความ

เวลา 30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? สำหรับอัลเบอร์โต้ ไคโร เพื่อนร่วมงานของเรา เวลา 30 ปี มีค่ามากพอจะช่วยผู้คนนับแสนในอัฟกานิสถานให้กลับมีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังสูญเสียแขนขาไปกับสงครามและสถานการณ์ความรุนแรง ‘ผมหวังว่า ตัวเองจะมีเวลามากกว่านี้สัก 30 ปี’ อัลเบอร์โต้ให้สัมภาษณ์ สำหรับเขา การได้เห็นรอยยิ้มและชีวิตใหม่ของผู้คนในอัฟกาสนิสถาน คือของขวัญมีค่ามากที่สุดของชีวิต หมุนเวลากลับไปในปี 1991 อัลเบอร์โต้ ไคโร ...
‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วาเดียเนีย หมู่บ้านเล็กๆ ทางตอนใต้ของยูเครนเคยเป็นสถานที่ที่ใครหลายคนเรียกว่าบ้าน จากประชากรกว่า 300 ครอบครัว ปัจจุบันวาเดียเนียมีสมาชิกเหลือเพียง 13 คนเท่านั้น ย้อนไปหลายปีก่อนหน้า หมู่บ้านที่เงียบสงบเคยเป็นจุดหมายปลายทางของชาวเมืองที่อยากหนีความวุ่นวายช่วงปลายสัปดาห์ มาหาธรรมชาติและบรรยากาศเรียบง่ายของโรงนา พื้นหญ้า และฝูงปศุสัตว์ ด้วยความที่วาเดียเนียอยู่ห่างจากเมืองใหญ่อย่างมาริอูปอลที่มีประชากรเกือบครึ่งล้านเพียง ...
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในปี 1982 สงครามระหว่างอาร์เจนตินาและสหราชอาณาจักรสร้างบาดแผลให้หลายครอบครัว สงครามเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 1982 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์-อาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้น ฝ่ายอาร์เจนตินาอ้างว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ สงครามที่ว่าสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ...
จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ICRC เริ่มให้ความช่วยเหลือผู้ลี้ภัยทางตะวันออกของประเทศยูเครนตั้งแต่ปี 2014 มีครอบครัวชาวยูเครนจำนวนมากตัดสินใจอพยพลี้ภัยความรุนแรงมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ทางตอนใต้ในประเทศรัสเซีย การทิ้งบ้านและชีวิตที่คุ้นเคยไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ความปลอดภัยของครอบครัวเป็นของมีค่าราคาแพงที่พวกเขายอมเสี่ยงทุกอย่างเพื่อแลกมา สามปีผ่านไป ชีวิตของพวกเขาเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง? นาตาเลีย, วาเซลี่ และ ลูบอฟ จะเป็นตัวแทนบอกเล่าเรื่องราวให้พวกเราได้รับรู้ นาตาเลีย ก่อนยูเครนจะเข้าสู่ความขัดแย้งอย่างปัจจุบัน ...
แข่งกับเวลา! เจ้าหน้าที่ ICRC เตรียมพร้อมรับมือหน้าหนาว -20 องศา โดยไม่มีก๊าซ/ไฟฟ้า ในยูเครน

แข่งกับเวลา! เจ้าหน้าที่ ICRC เตรียมพร้อมรับมือหน้าหนาว -20 องศา โดยไม่มีก๊าซ/ไฟฟ้า ในยูเครน

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในขณะที่ความขัดแย้งยังไม่มีท่าทีจะสิ้นสุด ‘ฤดูหนาว’ ศตรูตัวร้ายของชาวยูเครนก็กำลังจะกลับมา ท่ามกลางอากาศหนาวกว่า -20 องศา ไม่มีแก๊ซและไฟฟ้า ประชาชนในพื้นที่สงครามทางตะวันออกของยูเครนจะผ่านหนาวนี้ไปได้อย่างไร? นี่เป็นคำถามใหญ่ที่เพื่อนรวมงานของเราในยูเครนกำลังประสบ `ถ้าคุณอยู่ในพื้นที่ขัดแย้ง นอกจากจะต้องคอยหลบลูกกระสุน คุณยังจะต้องลุ้นว่าหน้าหนาวนี้จะติดลบไปถึงกี่องศา` Alain Aeschlimann  ผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคในยูเครนให้สัมภาษณ์ ...
เรื่องราวแห่งความรัก-การทำงานด้านมนุษยธรรมของICRC

เรื่องราวแห่งความรัก-การทำงานด้านมนุษยธรรมของICRC

, บทความ / บล็อค

ท่ามกลางความขัดแย้งอันร้อนระอุในบางพื้นที่ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ #ICRC ได้ให้ความช่วยเหลือด้านความจำเป็นพื้นฐาน นั่นคือ น้ำ อาหาร และที่พักอาศัย เราให้ความช่วยเหลือแก่พลเรือนที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้ง ภายใต้หลักการความเป็นกลาง ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นอิสระ ติดตามชมวีดีโอคลิป “เรื่องราวแห่งความรัก” (A Story of love- The story of the ICRC ...
ประสบการณ์ 6 เดือนของฉันในมาบัน ซูดานใต้

ประสบการณ์ 6 เดือนของฉันในมาบัน ซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม
Uma Pandey

ช่วงเวลา 6 เดือนที่ฉันต้องย้ายจากมหานครใหญ่ที่เต็มไปด้วยความอึกทึกวุ่นวายอย่างกรุงเทพฯ ไปยังอำเภอมาบัน ในสาธารณรัฐซูดานใต้เปรียบเสมือนกับการเล่นรถไฟเหาะตีลังกาไม่มีผิด แต่หากมองในอีกมุมหนึ่งฉันกำลังจะได้เดินทางไปยังดินแดนที่ไหนสักแห่งในโลก เพื่ออะไรบางอย่างที่ตัวเองไม่เคยทำมาก่อนในฐานะผู้แทนของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) แค่นี้ก็เพียงพอแล้วสำหรับฉัน มาบัน เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกตอนบนของประเทศซูดานใต้ ซึ่งมีพรมแดนติดกับประเทศซูดานและเอธิโอเปีย ที่นี่เป็นศูนย์พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้อพยพประมาณ 136,000 คน ...
การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

อย่างที่เราได้ทราบกันไปแล้วในบทความก่อนหน้าว่าเครื่องหมายกาชาดเป็นเครื่องหมายที่ได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3 ของอนุสัญญาเจนีวา  เครื่องหมายกาชาดจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการคุ้มครองบุคลากรและผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมและด้านการแพทย์ในกรณีที่เกิดข้อพิพาททางอาวุธ โดยเครื่องหมายดังกล่าวจะติดอยู่กับยานพาหนะทางการแพทย์ สิ่งก่อสร้าง หรือตัวบุคคล ภายใต้ขอบเขตของอนุสัญญาเจนีวารวมถึงพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3  เช่น หน่วยแพทย์ในกองทัพ โรงพยาบาลของพลเรือน เป็นต้น นอกจากเครื่องหมายกาชาดแล้ว อนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ ...
สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

จากปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งทางทหารทั่วโลก พร้อมได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพถึง 3 ครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี เป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นที่เคารพมากที่สุดในโลก เมื่อเร็วๆ นี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศได้กลายเป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมแห่งแรกของโลกที่ใช้เทคโนโลยีวิดีโอเกมส์ในการปฏิบัติงานภายในอีกด้วย “คุณอาจพูดได้ว่าเราเป็นบริษัทเกมส์เล็กๆ” คริสเตียน รูแฟร์ หัวหน้าแผนก ...
EHL หลักสูตรสร้างเด็กดีมีมนุษยธรรม

EHL หลักสูตรสร้างเด็กดีมีมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

“คนดีต้องรู้จักเคารพผู้อื่น มีจิตใจดี และมีมนุษยธรรม” คำนิยามง่ายๆของอาจารย์อัจฉรา เพิ่มพูล ครูชำนาญการจากโรงเรียนสายปัญญาที่สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเราปลูกฝังเยาวชนคนรุ่นใหม่ในเรื่องการทำความดี การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตัวเองและผู้อื่น การเอื้อเฟื้อแบ่งปัน ตั้งแต่อายุยังน้อย เราก็จะได้คนดีมาอยู่ในสังคมของเรามากขึ้นในอนาคต และด้วยแนวคิดนี้เองจึงนำมาซึ่งการร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงสามฝ่ายระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และสภากาชาดไทย ให้มีการบรรจุการเรียนรู้เรื่องกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศไว้ในหลักสูตรกิจกรรมยุวกาชาดระดับมัธยมศึกษาตอนต้นระดับชั้นปีที่ 1-3 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2556 จนกระทั่งถึงปัจจุบันได้มีครูจำนวนไม่น้อยภายใต้สังกัดของกระทรวงศึกษาธิการที่ได้รับการอบรมในการสอนหลักสูตรนี้ไปแล้ว และเพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยเข้ากับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ...