มนุษยธรรม

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างจากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศอย่างไร

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างจากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศอย่างไร

, บทความ

เหมือนหรือต่าง? ว่าด้วยกฎหมายที่หลายคนสับสน อะไรคือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) และกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (IHRL) กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (international humanitarian law – IHL) และกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (international human rights law – IHRL) เป็นสองข้อกฎหมายที่มักถูกยกมาถกเถียงถึงความเหมือนและแตกต่าง IHL และ IHRL ...
เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

, บทความ

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง ‘Back to basics: humanitarian principles in contemporary armed conflict’ และเผยแพร่ควบคู่กับชุดบทความเรื่อง Just Security โดย ฟิโอนา เทอร์รี หัวหน้าศูนย์วิจัยและประสบการณ์งายฝ่ายปฏิบัติการ (CORE) ของ ICRC ได้อธิบายถึงเรื่องราวประสบการณ์ตรงของการเปลี่ยนผันตัวเองจากคนที่เคยมีความเคลือบแคลงใจต่อหลักความเป็นกลางไปสู่คนที่เชื่อมั่นอย่างแรงกล้าต่อเป้าประสงค์และประโยชน์ของการรักษาจุดยืนที่เป็นกลางใยห้วงยามที่สถานการณ์สงครามกำลังดำเนินอยู่ จริงหรือไม่ การรักษาความเป็นกลางถือเป็นเรื่องผิดศิลธรรม ...
การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

, E-Book

ดาวน์โหลดเอกสารแสดงการทำงานของ ICRC ในช่วงโควิด-19 อัพเดท ณ วันที่ 20 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564  
สัญลักษณ์แห่งมนุษยธรรม

สัญลักษณ์แห่งมนุษยธรรม

, E-Book

เครื่องหมายกาชาดเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวังของประชาชนที่เผชิญภาวะวิกฤตทางมนุษยธรรม สำหรับกลุ่มชนที่ต้องทนทุกข์จากการสู้รบและสถานการณ์ความรุนแรงอื่นๆ รวมไปถึงความยากลำบากอันเกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เครื่องหมายนี้เป็นสัญญาณว่าความช่วยเหลือกำลังจะมาถึง เครื่องหมายกาชาดในปัจจุบันมีสัญลักษณ์ใดบ้าง สัญลักษณ์เหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ให้ความคุ้มครองใครบ้าง ตอบทุกคำถามในเอกสารของเรา สัญลักษณ์แห่งมนุษยธรรม
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ จับมือพันธมิตรจัดนิทรรศการภาพถ่ายครั้งแรกในไทย

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ จับมือพันธมิตรจัดนิทรรศการภาพถ่ายครั้งแรกในไทย

, News / ไทย

ข่าวประชาสัมพันธ์ 22 ธันวาคม 2021 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ จับมือพันธมิตรจัดนิทรรศการภาพถ่ายครั้งแรกในไทย กรุงเทพฯ – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross – ICRC) หรือ ไอซีอาร์ซี ร่วมกับ สภากาชาดไทย สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (International ...
เกิดอะไรในอัฟกานิสถาน สถานการณ์ล่าสุดและผลกระทบของภัยพิบัติจากน้ำมือมนุษย์

เกิดอะไรในอัฟกานิสถาน สถานการณ์ล่าสุดและผลกระทบของภัยพิบัติจากน้ำมือมนุษย์

, บทความ / บล็อค

ข้อความต่อไปนี้ เป็นแถลงการณ์ของนายโดมินิก สติลฮาร์ท ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) หลังลงพื้นที่เป็นเวลา 6 วันเพื่อสำรวจความต้องการด้านมนุษยธรรมในประเทศอัฟกานิสถาน “ผมหน้าซีด ภาพที่เห็นจากระยะไกลในวอร์ดผู้ป่วยเด็กของโรงพยาบาลที่ใหญ่ที่สุดประจำเมืองกันดาฮาร์ คือเด็กที่ผอมแห้งกับลมหายใจอันรวยริน ผมมองเข้าไปในดวงตาที่ว่างเปล่าของเด็กๆ ที่หิวโหย และใบหน้าอันปวดร้าวของพ่อแม่ที่สิ้นหวัง สถานการณ์เช่นนี้ช่างน่าโมโหเสียจริง “สิ่งที่น่าเสียใจสุด คือผลกระทบเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นด้วยน้ำมือมนุษย์ มาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจจากนานาชาติ เพื่อตอบโต้การกระทำของผู้มีอำนาจในคาบูล กำลังผลักให้ผู้คนหลายล้านต้องตกที่นั่งลำบาก พวกเขาไม่มีแม้แต่ปัจจัย 4 ...
ฝรั่งเจอผีมั้ยในงานนิติวิทยาศาสตร์ ว่าด้วยบทบาทของผู้หญิงที่มีมากกว่าฉากในซีรีย์ CSI

ฝรั่งเจอผีมั้ยในงานนิติวิทยาศาสตร์ ว่าด้วยบทบาทของผู้หญิงที่มีมากกว่าฉากในซีรีย์ CSI

, บทความ / บล็อค

นำศพออกจากที่เกิดเหตุ วิเคราะห์หลักฐาน พิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล ทั้งหมดนี้เป็นชีวิตจริงของคนทำงานด้านนิติวิทยาศาตร์ แน่นอนว่าการทำงานไขปริศนาเป็นเรื่องน่าสนใจ หลายปีที่ผ่านมาสื่อภาพยนต์และซีรีย์นำเสนอภาพลักษณ์ของอาชีพนี้ในฐานะบุคคลสำคัญในการไขคดีต่างๆ นั่นอาจเป็นเหตุลให้นิติวิทยาศาสตร์เริ่มเป็นที่นิยมในหมู่ผู้หญิง (อันที่จริงนิติวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในไม่กี่สาขาของสายงานวิทยาศาตร์ ที่มีผู้หญิงลงเรียนมากกว่าผู้ชาย) อะไรทำให้สายงานนี้น่าสนใจ นิติวิทยาศาสตร์ในความเป็นจริงทำงานแบบไหน มาไขข้อสงสัยไปกับดร.เชอรี่ ซี ฟอกซ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านนิติวิทยาศาสตร์ของ ICRC ทุกวันนี้นิติวิทยาศาตร์เหมือนจะเป็นสาขาของผู้หญิง ตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา มีผู้หญิงเข้าศึกษาในสาขานี้มากถึง 70% ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น? ...
มนุษยธรรมคืออะไร? อ่านมุมมองน่าสนใจผ่านศิลปินผู้ผลิตงานศิลปะ

มนุษยธรรมคืออะไร? อ่านมุมมองน่าสนใจผ่านศิลปินผู้ผลิตงานศิลปะ

, บทความ

“ศิลปะ” กับ “มนุษยธรรม” สองคำนี้สร้างแรงบันดาลใจให้แก่กันได้อย่างไร? พามารู้จักแรงบันดาลใจจากสามศิลปินผู้สร้างงานศิลปะเพื่อบอกเล่าเรื่องราวของการช่วยชีวิต Juli baker and summer กับงานมนุษยธรรมที่เป็นสีรุ้ง “คำว่ามนุษยธรรมเป็นโจทย์ที่นามธรรมมาก ต้องไปตีความทำความเข้าใจกับ 3 องค์กรอยู่ประมาณนึง ป่านตีความออกมาเป็นภาพด้านหลังซึ่งนำเสนอออกมาเป็นคนไม่ใส่อะไรเลย เพราะน่าจะแสดงถึงความเป็นมนุษย์มากที่สุด ที่เห็นอย่างแรกในภาพคือผู้หญิงถือดอกทานตะวัน ดอกไม้เป็นสิ่งที่ป่านชอบวาดอยู่แล้ว และมันเป็นตัวแทนความรู้สึกเชิงบวก พอดีป่านไปเจอว่าดอกทานตะวันเป็นตัวแทนของการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในงานของ ICRC ที่ด้านหลังมีภาพของกลุ่มคนหลายๆ สี ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม  (Part 1)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 1)

, บทความ / บล็อค

หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรม จอร์จ ฟลอยด์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงการประท้วงที่ลุกลามไปเกือบทุกหนแห่งทั่วโลก ทำให้เราได้เผชิญหน้ากันเพื่อทบทวนและใคร่ครวญถึงประเด็นเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นที่ควรได้รับการจัดการมานานแล้ว และตอนนี้เราก็อยู่ในขั้นตอนที่สถาบันต่าง ๆ กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน หลังได้รับฟังประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อไปสู่การตัดสินใจว่า ทางสถาบันจะทำอย่างไรต่อสาธารณชนในการต่อสู้กับการเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียมของระบบ แต่การดำเนินการอย่างเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาตินั้นหมายถึงอะไร? แล้วข้อกำหนดเหล่านี้นำไปใช้กับการดำเนินการด้านมนุษยธรรมได้อย่างไรบ้าง? ในโพสต์นี้ ซามาน เรจาลี บรรณาธิการด้านเนื้อหาของ International Review of the ...
30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? อัลเบอร์โต้ ไคโร กับ 30 ปีเพื่อฟื้นฟูชีวิตผู้พิการในอัฟกานิสถาน

30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? อัลเบอร์โต้ ไคโร กับ 30 ปีเพื่อฟื้นฟูชีวิตผู้พิการในอัฟกานิสถาน

, บทความ

เวลา 30 ปี มีค่ามากแค่ไหน? สำหรับอัลเบอร์โต้ ไคโร เพื่อนร่วมงานของเรา เวลา 30 ปี มีค่ามากพอจะช่วยผู้คนนับแสนในอัฟกานิสถานให้กลับมีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังสูญเสียแขนขาไปกับสงครามและสถานการณ์ความรุนแรง ‘ผมหวังว่า ตัวเองจะมีเวลามากกว่านี้สัก 30 ปี’ อัลเบอร์โต้ให้สัมภาษณ์ สำหรับเขา การได้เห็นรอยยิ้มและชีวิตใหม่ของผู้คนในอัฟกาสนิสถาน คือของขวัญมีค่ามากที่สุดของชีวิต หมุนเวลากลับไปในปี 1991 อัลเบอร์โต้ ไคโร ...