มนุษยธรรม

‘สถานะ’ และ ‘การคุ้มครอง’ : องค์กรมนุษยธรรมมองเรื่อง ‘ผู้ลี้ภัย’ ไว้อย่างไร

‘สถานะ’ และ ‘การคุ้มครอง’ : องค์กรมนุษยธรรมมองเรื่อง ‘ผู้ลี้ภัย’ ไว้อย่างไร

, บทความ / บล็อค

การเดินทางจากบ้านมีได้หลายเหตุผล การที่ใครสักคนจะได้รับการต้อนรับหรือดูแลมากแค่ไหน บางครั้งก็ขึ้นอยู่กับเหตุผลของการเดินทาง ที่จะบอกว่าผู้อพยพท่านนี้ควรได้รับสถานะ (status) หรือ การคุ้มครอง (protection) แบบใด แต่ไม่ว่าจะหลบหนีจากสงครามหรือเดินทางหางานสร้างอนาคต ไม่ว่าจะถูกบังคับให้เคลื่อนย้ายหรือเต็มใจออกจากบ้าน สิ่งที่ผู้คนเหล่านี้ต้องเผชิญไม่ต่างกัน คืออุปสรรค์ที่มักเกิดขึ้นระหว่างทาง นายปีเตอร์ เมาเรอร์ ประธานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) กล่าวถึงประสบการณ์ความยากลำบากที่ผู้คนเหล่านี้ต้องเผชิญไว้ว่า: ‘เมื่อตัดสินใจออกเดินทาง ผู้อพยพและประชากรพลัดถิ่นต้องเผชิญโจทย์ยากตั้งแต่ก้าวแรก บนเส้นทางมีความไม่แน่นอน หลายชีวิตไม่สามารถไปถึงจุดหมายได้อย่างปลอดภัย หรือต่อให้ไปถึง ...
ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

การดูแลฝูงปศุสัตว์ให้มีสุขภาพดีช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ในประเทศที่มีความขัดแย้ง คุณต้องเตรีมพร้อมที่จะอพยพตลอดเวลา การเลี้ยงสัตว์ตอบโจทย์ข้อจำกัดที่ว่า เพราะมีความคล่องตัวสูงกว่าไม่เหมือนการทำเกษตรกรรม”  Ada Jacobsen ผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์ของ ICRC กล่าวระหว่างการจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้ฝูงสัตว์ในหุบเขา Maura Hills “ถ้าไม่มีปศุสัตว์เป็นของตัวเอง ก็เหมือนคุณไม่ใช่ชาวซูดานใต้ ” ...
กองทัพบกเป็นเจ้าภาพร่วม ICRC จัดการประชุมว่าด้วยปฏิบัติการด้านความมั่นคงโดยทหารเอเชีย-แปซิฟิก ครั้งที่ 1

กองทัพบกเป็นเจ้าภาพร่วม ICRC จัดการประชุมว่าด้วยปฏิบัติการด้านความมั่นคงโดยทหารเอเชีย-แปซิฟิก ครั้งที่ 1

, บทความ / บล็อค

การประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยการปฏิบัติการด้านความมั่นคงโดยทหาร จัดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างกองทัพบกและคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ICRC ระหว่างวันที่ 6-9 พฤศจิกายน 2560 ที่รร เสนาธิการทหารบก โดยมีนายทหารจากทั่วภูมิเอเชียแปซิฟิก 10 ประเทศเข้าร่วม “ระหว่างเหตุการณ์ความไม่สงบ การปรากฏตัวของเจ้าหน้าที่ทหารและตำรวจจะสร้างความอุ่นใจให้กับประชาชน” นายเบอาท ชไวเซอร์ ผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ กล่าว ตลอดการประชุมทั้ง 4 วัน ...
การใช้โซเชียลมีเดียกับงานด้านมนุษยธรรม

การใช้โซเชียลมีเดียกับงานด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานเพื่อการประสานงานด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ UNOCHA คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ICRC และสหพันธ์กาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ IFRC จึงได้จัดทำ คู่มือในการใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยเหลือผู้คนที่ได้รับผลกระทบในภาวะวิกฤต โดยคู่มือฉบับนี้มุ่งเน้นไปที่กลุ่มพนักงานที่รับผิดชอบดูแลช่องทางโซเชียลมีเดียให้กับองค์กรที่ทำงานด้านมนุษยธรรม “ทุกวันนี้มีผู้คนมากกว่า 3 พันล้านคนที่ใช้โซเชียลมีเดียในการติดต่อสื่อสาร ในจำนวนนี้หมายรวมถึงบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติและภัยจากการสู้รบ นับวันจำนวนของผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตในรูปแบบต่างๆได้ใช้ช่องทางเหล่านี้ในการค้นหาและแบ่งปันข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น” ชาร์ล็อตต์ ลินซี่ย์ เคอร์เล็ต ผู้อำนวยการด้านการสื่อสารและข้อมูลของ ICRC กล่าว “หากเราต้องการได้ข้อมูลและปรับการรับรู้ เราก็จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาการสื่อสารออนไลน์มากขึ้น” ไม่ว่าจะเป็นช่วงที่เกิดเฮอร์ริเคนพัดถล่มสหรัฐฯและแถบทะเลแคริบเบียนหรือวิกฤตการอพยพลี้ภัยทั่วโลก ...
เรื่องราวแห่งความรัก-การทำงานด้านมนุษยธรรมของICRC

เรื่องราวแห่งความรัก-การทำงานด้านมนุษยธรรมของICRC

, บทความ / บล็อค

ท่ามกลางความขัดแย้งอันร้อนระอุในบางพื้นที่ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ #ICRC ได้ให้ความช่วยเหลือด้านความจำเป็นพื้นฐาน นั่นคือ น้ำ อาหาร และที่พักอาศัย เราให้ความช่วยเหลือแก่พลเรือนที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้ง ภายใต้หลักการความเป็นกลาง ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นอิสระ ติดตามชมวีดีโอคลิป “เรื่องราวแห่งความรัก” (A Story of love- The story of the ICRC ...
เมื่อฉันเผยแพร่ประสบการณ์ศาลจำลองและ IHL ในนาม ICRC

เมื่อฉันเผยแพร่ประสบการณ์ศาลจำลองและ IHL ในนาม ICRC

, บทความ / บล็อค
ณัฏฐธิดา ทวีเจริญ

“ในการแข่งขันศาลจำลองสำคัญคือต้องมีสติและใจต้องนิ่งให้ได้มากที่สุดเวลาแถลงวาจา” นั่นคือคำแนะนำที่ณัฎฐธิดา ทวีเจริญ อดีตนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ฝากให้กับน้องๆนักศึกษากฎหมายรุ่นใหม่ที่สนใจจะเข้าร่วมการแข่งขันศาลจำลองในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ หรือ International Humanitarian Law (IHL) และในฐานะที่เธอได้เข้ามาเป็นนักศึกษาฝึกงานกับคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ICRC เธอจึงอยากแบ่งปันประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับทีมกฎหมายของ ICRC ได้เพื่อนๆได้ทราบกันค่ะ การเดินทางไปสปป.ลาวร่วมกับพี่ๆ ที่ทำงานด้านกฎหมายของ ICRC เมื่อวันที่ 11-12 กรกฎาคมที่ผ่านมา ...
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์และคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพโครงการประชุมประจำปีเครือข่ายองค์การรัฐที่ให้บริการด้านนิติเวชศาสตร์ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์และคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพโครงการประชุมประจำปีเครือข่ายองค์การรัฐที่ให้บริการด้านนิติเวชศาสตร์ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

, News / บล็อค / ไทย

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรมของไทยเป็นเจ้าภาพโครงการประชุมประจำปีเครือข่ายองค์การรัฐที่ให้บริการด้านนิติเวชศาสตร์ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Medico-Legal Agencies  Network : APMLA General Meeting) ระหว่างวันที่ 17-19 กรกฎาคม 2560 ที่โรงแรมดีวารี จอมเทียน บีช พัทยา จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายและการแบ่งปันข้อมูลของผู้ให้บริการในงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค รวมถึงยกระดับการทำงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและมีความทันสมัยทันต่อสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  ซึ่งในโอกาสนี้คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศหรือ the ...
สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

จากปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งทางทหารทั่วโลก พร้อมได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพถึง 3 ครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี เป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นที่เคารพมากที่สุดในโลก เมื่อเร็วๆ นี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศได้กลายเป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมแห่งแรกของโลกที่ใช้เทคโนโลยีวิดีโอเกมส์ในการปฏิบัติงานภายในอีกด้วย “คุณอาจพูดได้ว่าเราเป็นบริษัทเกมส์เล็กๆ” คริสเตียน รูแฟร์ หัวหน้าแผนก ...
อนุสัญญาเจนีวาคืออะไร ทำความเข้าใจอนุสัญญาเจนีวาฉบับลงวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ.1949 และพิธีสารเพิ่มเติม

อนุสัญญาเจนีวาคืออะไร ทำความเข้าใจอนุสัญญาเจนีวาฉบับลงวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ.1949 และพิธีสารเพิ่มเติม

, E-Book

“ไม่ว่าในพฤติการณ์ใดๆ บุคคลผู้ที่ได้รับความคุ้มครองมีสิทธิที่จะได้รับความเคารพในตัวตน เกียรติยศ สิทธิ ในทางครอบครัว การเชื่อถือและปฏิบัติทางศาสนา และจรรยามารยาทกับประเพณี จะต้องได้รับผลปฏิบัติ อย่างมีมนุษยธรรมในทุกโอกาส และโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องได้รับความคุ้มครองต่อบรรดาการประทุษร้าย ใดๆ หรือการขู่เข็ญว่าจะประทุษร้าย และต่อการถูกเหยียดหยามและความอยากสอดรู้เห็นของประชาชน” อนุสัญญาเจนีวา ภาค 3 หมวด 1 ข้อ 27 เพื่อเป็นการเผยแพร่กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ หรือ International ...
ICRC ขอแสดงความเสียใจต่อผู้บาดเจ็บจากเหตุระเบิดที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

ICRC ขอแสดงความเสียใจต่อผู้บาดเจ็บจากเหตุระเบิดที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

, News / บล็อค / ไทย

เจนีวา/กรุงเทพฯ (ไอซีอาร์ซี) – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศขอแสดงความห่วงใยต่อเหตุระเบิดที่เกิดขึ้น ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเมื่อวานนี้ ซึ่งส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 20 ราย โรงพยาบาลถือเป็นสถานที่รักษาและช่วยชีวิตผู้คน  ดังนั้นการก่อความรุนแรงในสถานพยาบาลถือเป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศปฏิบัติงานทั่วโลกเพื่อสร้างความตระหนักรู้และสนับสนุนความปลอดภัยในสถานพยาบาลไม่ว่าจะอยู่ภายใต้สถานการณ์รูปแบบใด พร้อมเรียกร้องว่าทุกฝ่ายควรให้ความเคารพต่อสถานพยาบาล การโจมตีบุคลากรที่ให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์ โรงพยาบาล และรถพยาบาล ถือเป็นการขัดขวางการให้บริการด้านสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการลิดรอนสิทธิในการเข้าถึงการรักษาอีกด้วย คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศขอแสดงความเสียใจกับผู้บาดเจ็บและญาติพี่น้องที่ได้รับผลกระทบทุกท่าน —– สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ : เคท ...