คลังข้อมูล 

อัฟกานิสถาน: เด็กเกิดใหม่ 113,500 ชีวิต แต่พวกเขาจะมีชีวิตอยู่อย่างไร

อัฟกานิสถาน: เด็กเกิดใหม่ 113,500 ชีวิต แต่พวกเขาจะมีชีวิตอยู่อย่างไร

, News / ไทย

แถลงการณ์จากคริสทีน ชิโปลลา ผู้อำนวยการประจำภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ไอซีอาร์ซี) เมื่อเกือบหนึ่งปีที่แล้ว ฉันมีโอกาสเดินทางไปอัฟกานิสถาน และพบว่าระบบสาธารณสุขทั้งหมดแทบจะล่มสลาย หน่วยงานทางการแพทย์ของประเทศไม่ได้รับค่าจ้างเป็นเวลาหลายเดือน ไม่มีทั้งยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล แพทย์และพยาบาลทั้งในกรุงคาบูลและทั่วประเทศต่างสิ้นหวัง แม่และสตรีมีครรภ์ไม่สามารถได้รับการรักษาอย่างเพียงพอในประเทศที่ต้องเผชิญกับอัตราการเสียชีวิตของมารดาสูงที่สุดในโลก โดยจากจำนวนการคลอด 100,000 ราย พบว่ามีมารดาเสียชีวิตมากถึง 638 คน ไอซีอาร์ซีได้เข้ามาให้ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนในการรักษาชีวิตและต่อลมหายใจให้ระบบสาธารณสุข โดยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนของปีที่ผ่านมา เราได้ให้ความช่วยเหลือโรงพยาบาลขนาดใหญ่ 33 ...
การพิจารณาคดีเชลยศึก: อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่ 3 และหลักประกันความเป็นธรรมของการพิจารณาคดีเชลยศึก

การพิจารณาคดีเชลยศึก: อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่ 3 และหลักประกันความเป็นธรรมของการพิจารณาคดีเชลยศึก

, บทความ

บทความโดยอีเวตต์ อิซซาร์ ที่ปรึกษากฎหมาย ICRC เชลยศึกคนแรก ๆ ของการขัดกันทางอาวุธระหว่างประเทศที่ประเทศยูเครนถูกดำเนินคดีและตัดสินไปแล้ว การพิจารณาคดีดังกล่าวจะทำให้มีการพิจารณาคดีอีกหลายร้อยรายหรืออีกหลายพันรายตามมา เนื่องจากฝ่ายต่าง ๆ ของความขัดแย้งได้ออกมาระบุว่าตั้งใจที่จะควบคุมตัวเชลยศึกไว้ให้รับผิดต่อเหตุอาชญากรรมร้ายแรง อย่างรัสเซียเองก็รายงานออกมาว่าได้เริ่มสอบสวนเชลยศึกชาวยูเครนกว่า 1,000 คนแล้ว ส่วนสำนักงานอัยการสูงสุดของฝั่งยูเครนก็กล่าวว่าได้ขึ้นทะเบียนข้อกล่าวหาอาชญากรรมสงครามมากกว่า 15,000 คดี และเริ่มดำเนินคดีกับผู้ถูกกล่าวหาไปแล้วอย่างน้อย 80 คดี ขณะเดียวกันนั้น ศาลอาญาระหว่างประเทศเองก็อยู่ระหว่างการดำเนินการสอบสวนเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เกดิขึ้นในยูเครน ดังนั้น ...
เชลยสงครามคือใคร? ควรได้รับการปฏิบัติอย่างไรเมื่อสูญเสียอิสรภาพ

เชลยสงครามคือใคร? ควรได้รับการปฏิบัติอย่างไรเมื่อสูญเสียอิสรภาพ

, บทความ

เชลยสงครามคือใคร? ควรได้รับการปฏิบัติอย่างไรเมื่อสูญเสียอิสรภาพ เหมือนหรือต่างกับผู้ถูกจองจำในสถานะอื่น ตอบทุกคำถามในบทความเดียว   คำว่าเชลยสงครามหมายความว่าอะไร ใครบ้างสามารถตกเป็นเชลยสงครามได้ สถานะการเป็นเชลยสงคราม (Prisoners of War – PoW) มีปรากฏแค่ในการรบระหว่างประเทศเท่านั้น เชลยสงครามมักจะเป็นสมาชิกของกองทัพของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่เข้าสู้รบและได้ตกอยู่ภายใต้การควบคุมตัวโดยฝ่ายที่เป็นปฏิปักษ์ อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่ 3 ได้ระบุไปถึงบุคคลประเภทอื่นที่อาจได้รับการปฏิบัติในฐานะเชลยสงคราม ยกตัวอย่างเช่น ผู้สื่อข่าวสงคราม (war correspondent) ซึ่งได้รับความคุ้มครองเพิ่มเติมจากสถานะที่ได้รับการรับรองโดยกองทัพ ...
อะไรคือความแตกต่างระหว่าง ผู้ลี้ภัย ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย และผู้อพยพ

อะไรคือความแตกต่างระหว่าง ผู้ลี้ภัย ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย และผู้อพยพ

, บทความ

UNHCR กล่าวว่า ทั้งโลกของเรานี้มีประชากรถึง 1 ใน 95 ที่ต้องพลัดถิ่นจากความขัดแย้งหรือการประหัตประหาร โดยหากคิดเป็นตัวเลขคร่าวๆ มีถูกบังคับให้หนีจากบ้านไม่น้อยไปกว่า 82.4 ล้านคน บ้างอยู่ในสถานะผู้ลี้ภัย ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย หรือผู้อพยพ ซึ่งสามคำที่เราได้ยินกันอยู่เป็นประจำมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร มาหาคำตอบกันได้ในบทความนี้ อะไรคือความแตกต่างระหว่างสถานะผู้ลี้ภัย ผู้แสวงหาที่ลี้ภัย และ ผู้อพยพ โดยหลักแล้ว ผู้ลี้ภัย (Refugees) ...
นักรบ มูลมานัส กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้า

นักรบ มูลมานัส กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้า

, บทความ

งานคอลลาจแสนละเอียดที่แฝงไปด้วยเรื่องราวจากอดีต นำมาร้อยเรียงใหม่เพื่อสื่อสารกับคนในปัจจุบัน ดูจะเป็นลายเซ็นที่สุดแสนจะเป็นเอกลักษณ์ของนักรบ มูลมานัส ศิลปินภาพประกอบชื่อดังที่มีทั้งผลงานศิลปะ หนังสือขายดี และนิทรรศการซึ่งเป็นที่รู้จักกันอีกมาก เมื่อได้ยินว่านักรบตอบรับคำชวนและจะร่วมขบวนเพื่อตามหางานมนุษยธรรมในอีกร้อยปีข้างหน้า เราก็สนใจว่านักรบมีความคิดเห็นอย่างไรกับโครงการประกวดออกแบบภาพประกอบครั้งแรกของกลุ่มองค์กรกาชาด และจะมีไอเดียแบบไหนเพื่อสร้างสรรค์ผลงานภายใต้โจทย์ยากๆ อย่าง “Designing Humanity in the 21st Century” ทำความรู้จักนักรบ มูลมานัส ศิลปินร่วมโครงการของเรา เราเป็นศิลปิน ทำงานภาพประกอบแล้วก็เป็นนักเขียนด้วย สำหรับงานภาพ ...
กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างจากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศอย่างไร

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างจากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศอย่างไร

, บทความ

เหมือนหรือต่าง? ว่าด้วยกฎหมายที่หลายคนสับสน อะไรคือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) และกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (IHRL) กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (international humanitarian law – IHL) และกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (international human rights law – IHRL) เป็นสองข้อกฎหมายที่มักถูกยกมาถกเถียงถึงความเหมือนและแตกต่าง IHL และ IHRL ...
เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

, บทความ

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง ‘Back to basics: humanitarian principles in contemporary armed conflict’ และเผยแพร่ควบคู่กับชุดบทความเรื่อง Just Security โดย ฟิโอนา เทอร์รี หัวหน้าศูนย์วิจัยและประสบการณ์งายฝ่ายปฏิบัติการ (CORE) ของ ICRC ได้อธิบายถึงเรื่องราวประสบการณ์ตรงของการเปลี่ยนผันตัวเองจากคนที่เคยมีความเคลือบแคลงใจต่อหลักความเป็นกลางไปสู่คนที่เชื่อมั่นอย่างแรงกล้าต่อเป้าประสงค์และประโยชน์ของการรักษาจุดยืนที่เป็นกลางใยห้วงยามที่สถานการณ์สงครามกำลังดำเนินอยู่ จริงหรือไม่ การรักษาความเป็นกลางถือเป็นเรื่องผิดศิลธรรม ...
#มาแชร์กัน ใหม่–มานิตา ส่งเสริม กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้าที่ไม่ว่าโลกจะหมุนไปทางไหน คุณค่าความเป็นคนก็ยังไม่เปลี่ยนแปลง

#มาแชร์กัน ใหม่–มานิตา ส่งเสริม กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้าที่ไม่ว่าโลกจะหมุนไปทางไหน คุณค่าความเป็นคนก็ยังไม่เปลี่ยนแปลง

, บทความ

ใหม่–มานิตา ส่งเสริม นอกจากจะเป็นชื่อที่คุ้นหูคุ้นตากันดีในแวดวงนักออกแบบกราฟิก เธอยังเป็นศิลปินที่อยู่เบื้องหลังโปสเตอร์มากมายของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร และเป็นเจ้าของลายเส้นอันเป็นเอกลักษณ์บนหน้าปกหนังสือชื่อดังอีกหลายเล่ม วันนี้ทีมงาน ICRC ได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณใหม่ถึงในห้องทำงาน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแรงบันดาลใจหลังได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการประกวดออกแบบภาพประกอบครั้งแรกของกลุ่มองค์กรกาชาดฯ “Designing Humanity in the 21st Century” ทำความรู้จักคุณใหม่ ศิลปินร่วมโครงการของเรา “สวัสดีค่ะ ใหม่นะคะ จริงๆ เป็นนักออกแบบกราฟิกนี่แหละ ไม่ค่อยแทนตัวเองเป็นศิลปินเท่าไหร่ เพราะใหม่ไม่ได้คิดว่าตัวเองเป็น ...
กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

“แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” ประโยคนี้มีความหมายว่าอย่างไร อะไรคือใจความสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ “แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” มีความหมายว่า หากสงครามเกิดขึ้น ก็ต้องมีการจำกัดผลกระทบของมัน ยกตัวอย่างเช่น คุณต้องไม่โจมตีเด็ก สตรี หรือประชาชนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสู้รบ รวมไปถึงการให้การดูแลผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรม ไม่ทำการทรมานผู้อื่นเพื่อรีดข้อมูล โดยกฎเกณฑ์ที่ยกมานี้ ถูกระบุชัดในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ซึ่งเป็นกฎที่ถูกตั้งขึ้นมาโดยมีเป้าหมายทางมนุษยธรรมเป็นที่ตั้ง กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทำหน้าที่หลักสองประการ 1. ปกป้องผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสู้รบ หรือไม่สามารถทำการสู้รบต่อ นั่นรวมไปถึง ...
เปิดรับผลงานภาพประกอบในหัวข้อ “Designing Humanity in the 21st Century” (ขยายเวลาถึงวันที่ 15 กันยายน)

เปิดรับผลงานภาพประกอบในหัวข้อ “Designing Humanity in the 21st Century” (ขยายเวลาถึงวันที่ 15 กันยายน)

, บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ร่วมกับ สภากาชาดไทย (TRCS) สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (IFRC) และวิทยาลัยเพาะช่าง จัดการประกวดออกแบบภาพประกอบ (Illustration Design) ภายใต้หัวข้อ “Designing Humanity in the 21st Century” ชวนทุกท่านมาร่วมออกแบบงานมนุษยธรรมในศตวรรษที่ 21 ด้วยการทำความเข้าใจงานมนุษยธรรมของกลุ่มองค์กรกาชาดฯ ที่ดำเนินต่อเนื่องมาอย่างยาวนานเกือบ 160 ปี ...