คลังข้อมูล 

The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ไม่ต้องบอกก็รู้ว่า อิรัก คงไม่ใช่จุดหมายหลักของคนทั่วไป เมื่อทราบว่ามีเพื่อนร่วมงานจากแผนกน้ำและที่อยู่อาศัย (Water and Habitat) เคยไปใช้ชีวิตอยู่ในอิรัก เราก็ชักอยากทำความรู้จักขึ้นมา การทำงานสามเดือนในประเทศที่อยู่บนหน้าข่าวสงครามยาวนานร่วมสิบปี มีความสนุกและท้าทายอย่างไร? ข้างล่างนี้มีพื้นที่มากพอให้ กานต์ ตุ้มศรี วิศวกรของ ...
ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) รู้สึกตกใจและเสียใจต่อเหตุการณ์ลอบยิงเจ้าหน้าที่ ขณะกำลังเดินทางไปเยี่ยมเรือนจำในเมืองตาอิช (Taiz) ประเทศเยเมน นาย Hanna Lahoud เป็นชาวเลบานอน เริ่มทำงานกับ ICRC ตั้งแต่ปี 2553 ตลอดเวลาเกือบ ...
‘สีมายา’ กลุ่มหัตถกรรมเล็กๆ ที่เป็นความหวังอันยิ่งใหญ่ของชาวหน้าถ้ำ จังหวัดยะลา

‘สีมายา’ กลุ่มหัตถกรรมเล็กๆ ที่เป็นความหวังอันยิ่งใหญ่ของชาวหน้าถ้ำ จังหวัดยะลา

, บทความ / บล็อค

ท่ามกลางความยากลำบาก การพลักพรากจากภัยสงครามและความขัดแย้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ไม่เพียงช่วยบรรเทาทุกข์แก่ผู้ประสบภัยในประเทศต่างๆ การช่วยเหลือของเรายังต่อยอดไปถึงการให้ความสนับสนุนชุมชน ฟื้นฟูความเป็นอยู่ และสนับสนุนชาวบ้านให้มีรายได้ที่ยั่งยืนผ่านโครงการและกิจกรรมมากมาย กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อม ‘สีมายา’ เป็นหนึ่งในใครงการที่เราให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2017 ธุรกิจเล็กๆ ที่สร้างรายให้ชุมชนชาวไทยพุทธ-มุสลิม เป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจของชาวหน้าถ้ำ จังหวัดยะลา ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาและทรัพยากรที่หาได้ในท้องถิ่น นำเสนห์และเรื่องราวในท้องที่ มาบอกเล่าผ่านงานหัตถกรรมได้อย่างน่าสนใจ ‘สีมายา’ เป็นกลุ่มหัตถกรรมหญิงที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ โดยเฉพาะดินมายาจากหน้าถ้ำ นำความรักของท้องถิ่นมาเป็นพลังขับเคลื่อนธุรกิจที่ทั้งแปลกใหม่และไม่เหมือนใคร ...
10 หนังที่ทำให้ภาพสงครามเปลี่ยนไป เมื่อคุณเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรม (IHL)

10 หนังที่ทำให้ภาพสงครามเปลี่ยนไป เมื่อคุณเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรม (IHL)

, บทความ / บล็อค

สงครามและความขัดแย้งเป็นมรดกของมนุษยชาติ เรื่องราวระหว่างสู้รบไม่ว่าจะในแง่มุมใด มักถูกใช้เป็นแรงบันดาลใจในโลกศิลปะอยู่เสมอ จะดีแค่ไหนถ้างานศิลป์ร่วมสมัยอย่างภาพยนตร์สามารถบอกเล่าความเป็นจริงของสงครามและกฎกติการะหว่างการสู้รบ (Rules of war) ให้ดังฟังชัด? ภาพยนตร์และซีรีย์ 10 เรื่องนี้อาจทำให้มุมมองสงครามของคุณเปลี่ยนไป 1. American Sniper   เกี่ยวกับ: การประยุกต์ใช้กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ในพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยและมีส่วนร่วมโดยตรงในการสู้รบ ผู้กำกับ: Clint Eastwood (United ...
Intern Wanted! (International Humanitarian Law)

Intern Wanted! (International Humanitarian Law)

หากคุณกำลังเป็นนักศึกษา แต่รอไม่ไหวที่จะเริ่มงานด้านมนุษยธรรม โอกาสมาถึงแล้ว! คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (#ICRC) กำลังมองหานักศึกษาที่สนใจงานด้านกฎหมายมนุษยธรรมมาร่วมงานกับทีมกฎหมายของเราระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎมคมที่จะถึงนี้ เคยสงสัยไหมว่า การทำงานในองค์กรมนุษยธรรมระหว่างประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 150 ปี เป็นอย่างไร? หากคุณสนใจเข้าไปอ่านรายละเอียดการรับสมัครได้ที่นี่เลย : Intern (International Humanitarian Law)
หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น เบื่องหลังภาพถ่ายและความทรงจำมากมายที่ต่างไป ผู้คนเหล่านี้มีหนึ่งเป้าหมายที่เหมือนกัน ‘พวกเขาพร้อมที่จะสร้างชีวิตขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ตราบเท่าที่ยังมีลมหายใจ’ ในปี ...
The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วิศวกรรมกับมนุษยธรรมอาจฟังดูไม่เข้ากันเท่าไหร่ หลายคนอาจไม่รู้แต่ที่ #ICRC เรามีหน่วยงานด้านเทคนิคที่มีชื่อเรียกชวนฉงนว่า WATHAB … เจ้า #WATHAB คืออะไร ทำอะไรได้บ้าง? มาฟังเรื่องเรื่องราวของพี่โจ – ธันวิชช์ มหัทธนาสิงห์ วิศวกรของ ICRC และการสร้างสรรค์สิ่งที่ (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมแต่ทำให้คนมีความสุข ...
ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

สถานการณ์สู้รบภาคพื้นดินในเยเมนตึงเครียดอีกครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เรียกร้องให้กองกำลังทุกกลุ่มหลีกเลี่ยงการโจมตีเมืองโบราณราเบ็ล (Zabid) เมืองมรดกโลกที่เก่าแก่ที่สุดในเยเมน ความวุ่นวายในสงครามกลางเมืองเยเมนไม่เพียงเป็นอันตรายต่อพลเมืองแต่ยังทำให้สถาปัตยกรรมทรงคุณค่าอยู่ในภาวะเสี่ยง ราเบ็ลเป็นเมืองหลวงเก่าและเป็นเมืองสำคัญในวัฒนธรรมอิสลามที่มีอายุย้อนหลังไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 13-15 มหาวิทยาลัยราเบ็ล ถือเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในหมู่ประเทศอาหรับและมุสลิม เป็นศูนย์กลางทางการวิจัยและเป็นภาพลักษณ์ขององค์ความรู้อิสลามที่ไม่อาจประเมินค่าได้ ภายในเมืองยังมีกลุ่มอาคารอีกมากมาย ทั้งบ้าน มัสยิด ...
ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) ICRC ให้การสนับสนุนองค์กรการกุศลทั่วรัสเซียและยุโรปตะวันออก หนึ่งร้อยปีหลังสงครามสิ้นสุดลง ICRC ยังคงปกป้องชีวิตและศักดิ์ศรีของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของความขัดแย้งทางอาวุธและสถานการณ์ความรุนแรงอื่น ๆ ไปพร้อมกับการส่งเสริมและสนับสนุนกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (เด็กๆ ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าของรัสเซียช่วยกันเลี้ยงแพะเพื่อนำน้ำนมมาเป็นอาหาร ภาพนี้ถูกถ่ายที่เมือง Novgorod ในเดือนสิงหาคม ...
Behind the Scenes : โฆษณาวิทยุเพื่อป้องกันโรคร้ายในโซมาเลีย

Behind the Scenes : โฆษณาวิทยุเพื่อป้องกันโรคร้ายในโซมาเลีย

, บทความ

โมกาดิชู เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโซมาเลียดูสวยงามเมืองมองผ่านหน้าต่างมุมสูง ที่นี่คลื่นวิทยุจากกว่า 20 สถานี กำลังเดินทางสื่อสารกับชาวเมืองไม่เว้นแต่ละวัน ปัจจุบัน แม้การสื่อสารจะพัฒนาไปในหลายรูปแบบ แต่การจัดรายการวิทยุยังคงเป็นความบันเทิงหลักที่ชาวโซมาเลียให้ความสนใจ ในจำนวนรายการมากมาย โฆษณาวิทยุ ของ ICRC และกาชาดโซมาเลีย คืออีกหนึ่งช่องทางสื่อสาร ที่ทำให้เราสามาถแบ่งปันความรู้ด้านสุขอนามัยและการป้องกันโรคร้ายได้อย่างทั่วถึง Ahmed Isse Gutale นักจัดรายการจากสถานีวิทยุ Mustaqbal เป็นหัวหอกสำคัญในการพัฒนาบทพูดสำหรับโฆษณาของเรา ข้อความที่ต้องการสื่อสารแบ่งเป็นสามเรื่องด้วยกันคือ ...