คลังข้อมูล 

75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

, News / บทความ / ไทย

75 ปีก่อน ในช่วงเช้าของวันที่ 6 สิงหาคม 2488 เครื่องบิน B-29 ได้ปล่อยอาวุธอันน่ากลัวที่คิดค้นขึ้นใหม่ใส่พื้นที่ของเมืองฮิโรชิมา ระเบิดนิวเคลียร์ลูกดังกล่าวทำลายเมืองจนราบเป็นหน้ากลอง คร่าชีวิตผู้คน 70,000 คนในพริบตา และอีกกว่าหมื่นชีวิตบาดเจ็บสาหัส และในวันที่ 9 สิงหาคม ระเบิดนิวเคลียร์ลูกที่ 2 ได้ทำลายตัวเมืองนางาซากิ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตทันที 39,000 คน ...
ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

75 ปี ผ่านไปหลังระเบิดปรมาณูลูกแรกถูกใช้เพื่อถล่มเมืองฮิโรชิมะจนราบเป็นหน้ากลอง ทุกวันนี้ผลกระทบของระเบิดยังคงเป็นที่พูดถึง ความกลัวต่อสงครามนิวเคลียร์ที่อาจเกิดขึ้นยังคงติดอยู่ในใจและไม่ว่าสงครามเย็นจะจบไปกว่า 20 ปี กำแพงเบอร์ลิน – สัญลักษณ์ของการต่อสู้ระหว่างสองขั้วอำนาจถูกทำลาย ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ถึงอย่างนั้น โลกหลังสงครามนิวเคลียร์และผลกระทบอันเลวร้ายหากอาวุธที่ว่าถูกนำมาใช้ ยังคงได้รับการเล่าขานและตีความต่อไปผ่านแผ่นฟิล์ม วันนี้เราได้ลองรวมรวมภาพยนต์ที่เล่าถึงหายนะของโลกหลังสงครามนิวเคลียร์ การตีความของผู้กำกับแต่ละท่านอาจให้ภาพต่างกันไป แต่สิ่งที่ทุกท่านเห็นร่วมกัน คือวันโลกาวินาศคงมาถึงในทันทีหากมีการใช้ระเบิดที่ว่าระเบิดในสักวัน Dr. Strangelove or: How ...
เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...
โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

, บทความ / บล็อค

ความรุนแรงทางเพศมักเป็นผลกระทบจากสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ความรุนแรง ภัยธรรมชาติ หรือแม้แต่ภาวะโรคระบาดอย่างโควิด-19 ในภาวะเหล่านี้ นอกจากผู้ได้รับผลกระทบจะต้องเผชิญกับความยากลำบากทางมนุษยธรรมไม่ว่าจะเป็นเรื่องน้ำ อาหาร ยารักษาโรค ความปลอดภัยหรือแม้แต่ปัญหาเรื่องเศรฐกิจและรายได้ อีกหนึ่งประเด็นที่มักเกิดขึ้นตามมาคือปัญหาด้านครอบครัวและสังคมอย่างการใช้กำลัง การถูกทอดทิ้ง การเอารัดเอาเปรียบทางเพศ การเลือกปฎิบัติ และการทารุณกรรม ข่าวร้อนจากทั่วโลกเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าภาวะโรคระบาดไม่เพียงเพิ่มความเสี่ยง แต่ยังเป็นต้นเหตุให้การคุกคามทางเพศ และความรุนแรงทางเพศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ จากประเทศจีนไปจนถึงสหราชอาณาจักรรวมไปถึงประเทศอื่นๆ ระหว่างทาง มีรายงานว่าสายด่วนเพื่อให้ความช่วยเหลือเรื่องความรุนแรงในบ้านต้องรับเคสกันหนักขึ้นถึง 60-700% ในแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีถึงขั้นกล่าวว่า ...
โซมาเลีย: การโจมตีบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฎิบัติงานในพื้นที่คือโศกนาฏกรรมอันน่าเศร้า

โซมาเลีย: การโจมตีบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฎิบัติงานในพื้นที่คือโศกนาฏกรรมอันน่าเศร้า

, บทความ / บล็อค

โมกาดิชู – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The International Committee of the Red Cross – ICRC) รู้สึกสะเทือนใจเป็นอย่างมากจากเหตุสังหารพลเรือน 8 ท่าน ในหมูบ้านโกโกลีย์ในเขตบัลกาล ของโซมาเลีย โดยผู้เสียชีวิต 7 ท่าน เป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานอยู่ในคลินิกของพื้นที่ห่างไกล ICRC รู้สึกเสียใจต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ...
การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ / บล็อค

ในการร่วมกันรับมือของเราต่อสถานการณ์ COVID-19 ในเขตการสู้รบนั้น การปฏิบัติตามบทบัญญัติสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ คือสิ่งสำคัญจำเป็น เพื่อให้ความต้องการของชุมชน ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ และหน่วยงานรัฐ ในห้วงเวลาอันยากลำบากเป็นประวัติการณ์นี้ ได้รับการสนองตอบอย่างเพียงพอและเหมาะสม เราทุกคนต่างกำลังเผชิญกับสถานการณ์วิกฤตร่วมกันทั่วโลก และ COVID-19 ไม่ได้สนใจเรื่องพรมแดนระหว่างประเทศหรือคำนึงถึงผู้มีอำนาจหรือความมั่งคั่ง แต่กระนั้น แม้ไวรัสจะเดินทางไปแพร่เชื้อให้ทุกคนในทุกหนแห่งโดยไม่เลือกหน้า แต่ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ของไวรัสชนิดนี้กลับไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน พลเรือนที่ติดอยู่ท่ามกลางการสู้รบ ไม่ว่าจะเป็นผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก รวมทั้งผู้พลัดถิ่นจากสถานการณ์ความรุนแรงและผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศที่ จากการสู้รบ ...
โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

, บทความ / บล็อค

คงไม่ใช่เรื่องใหม่หากจะกล่าวว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ทั่วโลกเกิดความกังวลในหลายปัจจัย: ความกลัวต่อการติดเชื้อไวรัสและทำให้ทั้งครอบครัวป่วยเป็นโรค ความวิตกกังวลเกี่ยวกับมาตรการและการกักตัว ความทุกข์ที่ต้องห่างไกลจากสมาชิกครอบครัวที่เคยพบหน้า ความเครียดต่อภาวะหยุดชะงักของโลกที่อาจนำไปสู่ผลกระทบในระยะยาว ท่ามกลางเหตุผลมากมาย หลายชีวิตที่ต้องต่อสู้กับโรคร้ายไปพร้อมๆ สถานการณ์ความขัดแย้งที่ยังคุกรุ่น ความกังวลของพวกเขา อาจะเพิ่มเป็นเท่าทวีคูณ ICRC มีความกังวลว่าสถานการณ์ดังกล่าว อาจทำให้ความเครียดในแต่ละพื้นที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากและการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตของเรา ก็เป็นหนึ่งในเสาหลักเพื่อต่อสู้กับวิกฤตโควิด-19 นอกจากการปรับกิจกรรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน ICRC ยังได้ตั้งหน่วยความช่วยเหลือในด้านโควิด-19 ผ่านการทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อแบ่งปันวิธีการจัดการกับความเครียด ความกังวล และการถูกตีตรา รวมไปถึงการให้คำปรึกษาทางจิตใจต่ออาสาสมัครและบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานในแนวหน้า ...
จากไข้หวัดสเปนถึงโควิด-19: บทเรียนจากโรคระบาดและสงครามโลกครั้งที่ 1

จากไข้หวัดสเปนถึงโควิด-19: บทเรียนจากโรคระบาดและสงครามโลกครั้งที่ 1

, บทความ / บล็อค

โรคระบาดใหญ่ในปี 1918-1919 หรือที่รู้จักกันในนาม ไข้หวัดสเปน เป็นวิกฤตการณ์ด้านสุขภาพที่หนักหนามากที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ ความวุ่นวายและความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงทุกด้าน หากเหตุการณ์โรคระบาดใหญ่ที่มาพร้อมๆ กับสงครามจะฝากบทเรียนอะไรให้กับมนุษยชาติ สิ่งนั้นอาจะเป็นข้อความสำคัญที่ทำให้เรารับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ดียิ่งขึ้น ไข้หวัดใหญ่ในปี 1918 เริ่มต้นขึ้นในขณะที่การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 ยังดำเนินไปในปีสุดท้าย ความเสียหายของสงครามกำลังพุ่งถึงขีดสุด ในขณะที่ขีดความสามารถในการรับมือกับโรคระบาด ลดต่ำลงจนน่าตกใจ การแพร่ระบาดของโรคร้ายปรากฎขึ้นสามระลอก ระลอกแรกในฤดูใบไม้ผลิของปี  1918 ...
กฎหมายระหว่างประเทศให้การคุ้มครองป้องกันมากเพียงใด ต่อการโจมตีไซเบอร์ระบบโรงพยาบาลและการระบาดใหญ่ของ

กฎหมายระหว่างประเทศให้การคุ้มครองป้องกันมากเพียงใด ต่อการโจมตีไซเบอร์ระบบโรงพยาบาลและการระบาดใหญ่ของ

, บทความ / บล็อค

หมายเหตุบรรณาธิการ – มุมมองของผู้แต่งที่แสดงออกในบล็อกนี้เป็นมุมมองของผู้แต่งและไม่ได้สะท้อนว่าเป็นมุมมองของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศแต่อย่างใด โรงพยาบาลขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเมืองเบอร์โน (Brno) ซึ่งเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของสาธารณรัฐเช็ก ถูกโจมตีทางไซเบอร์เมื่อวันที่ 13 มีนาคมที่ผ่านมา โดยข้อมูลจากฝ่ายบริหารของโรงพยาบาลระบุว่า การโจมตีดังกล่าวทำให้เจ้าหน้าที่ต้องเลื่อนการผ่าตัดเร่งด่วนออกไปและต้องมีการเปลี่ยนเส้นทางการรักษาผู้ป่วยเฉียบพลันรายใหม่ๆ ไปยังโรงพยาบาลแห่งอื่น ตลอดจนลดกิจกรรมอื่น ๆ ภายในโรงพยาบาลลงด้วย โรงพยาบาลประจำเมืองแห่งนี้มีหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบหาติดเชื้อไวรัสโคโรนา (coronavirus) และการต้องหยุดชะงักลงดังกล่าวทำให้กระบวนการตรวจสอบล่าช้าไปหลายวัน ซึ่งนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ก็มีการรายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์โจมตีทางไซเบอร์ที่มีภาคสาธารณสุข/การดูแลสุขภาพเป็นเป้าหมายในหลายประเทศด้วยเช่นกัน เช่นที่ประเทศฝรั่งเศส สเปน ไทย ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...