ฝันร้ายที่ฮิโรชิมะ – บันทึกจากคุณหมอชาวต่างชาติคนแรกที่เดินทางถึงพื้นที่ 24/08/2020, บทความ / บล็อค 30 สิงหาคม 1945 โทรเลขฉบับแรกของ ICRC ถูกส่งออกจากฮิโรชิมะเพื่อบรรยายความเสียหายที่เกิดจากระเบิดปรมาณู หลังโทรเลขถูกส่งออก มารเซล จูโน ผู้แทนของ ICRC เดินทางไปฮิโรชิมะแทบจะในทันที เขาเป็นคุณหมอชาวต่างชาติคนที่เข้าไปดูแลผู้ป่วยในฮิโรชิมะหลังเหตุการทิ้งระเบิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1945 และนี่คือส่วนหนึ่งจากบันทึกประสบการณ์ตรงเมื่อ 75 ปี ก่อน คุณหมอจูโนเป็นผู้แทนจาก ICRC ประจำโตเกียวและหัวหน้าสำนักงานคนใหม่ ...
เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงมีถนนชื่อว่า ‘อังรี ดูนังต์’ ในกรุงเทพฯ? 11/08/2020, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค ถนนชื่อ “อังรีดูนังต์” ได้รับชื่อตามชื่อของผู้ให้กำเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ นายฌ็อง อังรี ดูนังต์ (Jean Henri Dunant) ตามคำร้องขอของสันนิบาตสภากาชาด (League of Red Cross Societies: ...
จากไฟป่าออสเตรเลียสู่ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่สงคราม 11/08/2020, บทความ / บล็อค ความคิดเห็นจาก ลีโอนาร์ด บลาเซบี หัวหน้าสำนักงาน ICRC ประจำออสเตรเลีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกคือเรื่องไม่เป็นธรรม ความขัดแย้งเป็นสิ่งโหดร้าย หากสองอย่างเกิดขึ้นพร้อมกัน นั่นหมายถึงหายนะ มันอาจยากที่จะจินตนาการ แต่เป็นหน้าที่ของเราที่ต้องทำความเข้าใจ ทุกวันนี้มีผู้คนหลายล้าน กำลังได้รับความลำบากจากทั้งสองมหันตภัยในเวลาเดียวกัน ในปี 2020 ออสเตรเลียเพิ่งเผชิญกับเหตุไฟป่าครั้งใหญ่ โลกทั้งใบต้องต่อสู้กับโรคระบาด มันอาจเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องบอกว่า ปัญหาของโลกปัจจุบันเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบและแก้ไข ในตอนที่ออสเตรเลียประสบภัยจากไฟป่า ความเจ็บปวดของคนในชาติได้ส่งเสียงสะท้อนดังไปทั้งโลก มันอาจถึงเวลาแล้วเช่นกัน ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3) 06/08/2020, บทความ / บล็อค เส้นทางสู่การ ‘ร่วมพลังกับการดำเนินงานด้านมนุษยธรรม‘ เมื่อมีการหยิบยกข้อโต้แย้งขึ้นมาว่า เราจะต้องคำนึงถึงศาสนา เพศ เชื้อชาติ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ของผู้ได้รับผลกระทบเพื่อให้เราปรับเปลี่ยนการดำเนินการด้านมนุษยธรรมหรือไม่ คำตอบที่พบบ่อยสุดคือ วิธีการดังกล่าวนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อหลักการด้านมนุษยธรรม ยกตัวอย่างเช่น เมื่อพูดถึงเรื่องความไม่ลำเอียง (impartiality) การวิเคราะห์เช่นนี้ได้แยกให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติบนฐานของเชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกันและไม่ควรเหมือนกันอย่างไร ไม่ใช่แค่การมองเห็นเรื่องของ ‘เชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2) 06/08/2020, บทความ / บล็อค มรดกยุคอาณานิคมใหม่ – เราฟังเสียงของใคร? ไม่ต้องสงสัยเลยว่า องค์กรด้านมนุษยธรรมนั้นได้ช่วยเหลือชีวิตคนนับล้านด้วยการปฏิบัติหน้าที่แนวหน้าในพื้นที่สุดอันตรายในโลก อย่างไรก็ตาม การดำเนินการด้านมนุษยธรรมบางประการนั้นยังคงฝังรากอยู่ในมรดกยุคอาณานิคมใหม่ ซึ่งหน่วงรั้งความพยายามในการส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าที่แท้จริง ทั้งนี้ ในการสร้างสถาบันที่มีความเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาติ ภาคหน่วยงานด้านมนุษยธรรมจะต้องยอมรับบทบาทของมรดกยุคอาณานิคมใหม่ที่ยังคงมีบทบาทอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการคุ้มครอง รวมทั้งภายในองค์กรด้านมนุษยธรรมเองด้วย ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านความเที่ยงธรรมในเชิงระบบมากที่สุด ดังนั้น มรดกยุคอาณานิคมใหม่จึงหมายถึง กฎหมาย นโยบาย และการดำเนินการต่าง ๆ ที่อยู่ในองค์กรด้านมนุษยธรรม ซึ่งบังคับใช้พลวัตของอำนาจอาณานิคมของผู้คนและสถาบันหรือองค์กรจากประเทศโลกที่หนึ่งที่กดขี่และใช้อำนาจเหนือประเทศโลกที่สามอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างชัด ๆ ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 1) 06/08/2020, บทความ / บล็อค หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรม จอร์จ ฟลอยด์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงการประท้วงที่ลุกลามไปเกือบทุกหนแห่งทั่วโลก ทำให้เราได้เผชิญหน้ากันเพื่อทบทวนและใคร่ครวญถึงประเด็นเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นที่ควรได้รับการจัดการมานานแล้ว และตอนนี้เราก็อยู่ในขั้นตอนที่สถาบันต่าง ๆ กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน หลังได้รับฟังประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อไปสู่การตัดสินใจว่า ทางสถาบันจะทำอย่างไรต่อสาธารณชนในการต่อสู้กับการเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียมของระบบ แต่การดำเนินการอย่างเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาตินั้นหมายถึงอะไร? แล้วข้อกำหนดเหล่านี้นำไปใช้กับการดำเนินการด้านมนุษยธรรมได้อย่างไรบ้าง? ในโพสต์นี้ ซามาน เรจาลี บรรณาธิการด้านเนื้อหาของ International Review of the ...
IHL Moot Court and Role Play Competition 2020 06/08/2020, บทความ / บล็อค คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดการ แข่งขัน IHL Moot Court and Role Play Competition 2020 รอบภาษาอังกฤษ ในวันเสาร์ที่ 10 และ วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม 2020 ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตท่าพระจันทร์ ...
75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์ 04/08/2020, News / บทความ / ไทย 75 ปีก่อน ในช่วงเช้าของวันที่ 6 สิงหาคม 2488 เครื่องบิน B-29 ได้ปล่อยอาวุธอันน่ากลัวที่คิดค้นขึ้นใหม่ใส่พื้นที่ของเมืองฮิโรชิมา ระเบิดนิวเคลียร์ลูกดังกล่าวทำลายเมืองจนราบเป็นหน้ากลอง คร่าชีวิตผู้คน 70,000 คนในพริบตา และอีกกว่าหมื่นชีวิตบาดเจ็บสาหัส และในวันที่ 9 สิงหาคม ระเบิดนิวเคลียร์ลูกที่ 2 ได้ทำลายตัวเมืองนางาซากิ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตทันที 39,000 คน ...
ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม 09/07/2020, บทความ / บล็อค 75 ปี ผ่านไปหลังระเบิดปรมาณูลูกแรกถูกใช้เพื่อถล่มเมืองฮิโรชิมะจนราบเป็นหน้ากลอง ทุกวันนี้ผลกระทบของระเบิดยังคงเป็นที่พูดถึง ความกลัวต่อสงครามนิวเคลียร์ที่อาจเกิดขึ้นยังคงติดอยู่ในใจและไม่ว่าสงครามเย็นจะจบไปกว่า 20 ปี กำแพงเบอร์ลิน – สัญลักษณ์ของการต่อสู้ระหว่างสองขั้วอำนาจถูกทำลาย ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ถึงอย่างนั้น โลกหลังสงครามนิวเคลียร์และผลกระทบอันเลวร้ายหากอาวุธที่ว่าถูกนำมาใช้ ยังคงได้รับการเล่าขานและตีความต่อไปผ่านแผ่นฟิล์ม วันนี้เราได้ลองรวมรวมภาพยนต์ที่เล่าถึงหายนะของโลกหลังสงครามนิวเคลียร์ การตีความของผู้กำกับแต่ละท่านอาจให้ภาพต่างกันไป แต่สิ่งที่ทุกท่านเห็นร่วมกัน คือวันโลกาวินาศคงมาถึงในทันทีหากมีการใช้ระเบิดที่ว่าระเบิดในสักวัน Dr. Strangelove or: How ...
เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม 30/06/2020, บทความ / บล็อค คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...