บทความ

เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

เป็นกลาง…ทำไม ว่าด้วยความเป็นกลางของงานมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม

, บทความ

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง ‘Back to basics: humanitarian principles in contemporary armed conflict’ และเผยแพร่ควบคู่กับชุดบทความเรื่อง Just Security โดย ฟิโอนา เทอร์รี หัวหน้าศูนย์วิจัยและประสบการณ์งายฝ่ายปฏิบัติการ (CORE) ของ ICRC ได้อธิบายถึงเรื่องราวประสบการณ์ตรงของการเปลี่ยนผันตัวเองจากคนที่เคยมีความเคลือบแคลงใจต่อหลักความเป็นกลางไปสู่คนที่เชื่อมั่นอย่างแรงกล้าต่อเป้าประสงค์และประโยชน์ของการรักษาจุดยืนที่เป็นกลางใยห้วงยามที่สถานการณ์สงครามกำลังดำเนินอยู่ จริงหรือไม่ การรักษาความเป็นกลางถือเป็นเรื่องผิดศิลธรรม ...
#มาแชร์กัน ใหม่–มานิตา ส่งเสริม กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้าที่ไม่ว่าโลกจะหมุนไปทางไหน คุณค่าความเป็นคนก็ยังไม่เปลี่ยนแปลง

#มาแชร์กัน ใหม่–มานิตา ส่งเสริม กับการออกแบบงานมนุษยธรรมในอีก 100 ปี ข้างหน้าที่ไม่ว่าโลกจะหมุนไปทางไหน คุณค่าความเป็นคนก็ยังไม่เปลี่ยนแปลง

, บทความ

ใหม่–มานิตา ส่งเสริม นอกจากจะเป็นชื่อที่คุ้นหูคุ้นตากันดีในแวดวงนักออกแบบกราฟิก เธอยังเป็นศิลปินที่อยู่เบื้องหลังโปสเตอร์มากมายของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร และเป็นเจ้าของลายเส้นอันเป็นเอกลักษณ์บนหน้าปกหนังสือชื่อดังอีกหลายเล่ม วันนี้ทีมงาน ICRC ได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณใหม่ถึงในห้องทำงาน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแรงบันดาลใจหลังได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการประกวดออกแบบภาพประกอบครั้งแรกของกลุ่มองค์กรกาชาดฯ “Designing Humanity in the 21st Century” ทำความรู้จักคุณใหม่ ศิลปินร่วมโครงการของเรา “สวัสดีค่ะ ใหม่นะคะ จริงๆ เป็นนักออกแบบกราฟิกนี่แหละ ไม่ค่อยแทนตัวเองเป็นศิลปินเท่าไหร่ เพราะใหม่ไม่ได้คิดว่าตัวเองเป็น ...
กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

“แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” ประโยคนี้มีความหมายว่าอย่างไร อะไรคือใจความสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ “แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” มีความหมายว่า หากสงครามเกิดขึ้น ก็ต้องมีการจำกัดผลกระทบของมัน ยกตัวอย่างเช่น คุณต้องไม่โจมตีเด็ก สตรี หรือประชาชนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสู้รบ รวมไปถึงการให้การดูแลผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรม ไม่ทำการทรมานผู้อื่นเพื่อรีดข้อมูล โดยกฎเกณฑ์ที่ยกมานี้ ถูกระบุชัดในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ซึ่งเป็นกฎที่ถูกตั้งขึ้นมาโดยมีเป้าหมายทางมนุษยธรรมเป็นที่ตั้ง กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทำหน้าที่หลักสองประการ 1. ปกป้องผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสู้รบ หรือไม่สามารถทำการสู้รบต่อ นั่นรวมไปถึง ...
การขัดกันทางอาวุธในยูเครน: การสรุปโดยย่อว่าด้วยกฎขั้นพื้นฐานของ IHL

การขัดกันทางอาวุธในยูเครน: การสรุปโดยย่อว่าด้วยกฎขั้นพื้นฐานของ IHL

, บทความ

ช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ทั่วโลกต่างเห็นถึงวิกฤตที่เกิดขึ้นในประเทศยูเครนที่ต้องมีการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมโดยเร่งด่วน ผู้อ่านหลายคนได้ติดต่อเข้ามาหาเราพร้อมกับคำถามต่าง ๆ ว่าด้วยการนำกฎแห่งสงคราม หรือ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ไปใช้กับสถานการณ์ความขัดแย้งได้อย่างไรบ้าง ในบทความนี้ คอร์ดูลา โดรเก ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายกฎหมายของเรา ได้สรุปกฎเกณฑ์สำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศที่บังคับควบคุมความขัดแย้ง และเน้นย้ำถึงข้อเรียกร้องของ ICRC ให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามภาระผูกพันทางกฎหมายของตนในการหลีกเลี่ยงไม่ให้พลเรือนต้องเดือดร้อนและเสียชีวิตไปมากกว่านี้ ก่อนสถานการณ์การสู้รบในประเทศยูเครนจะปะทุรุนแรงจนเป็นวงกว้างนั้น สิ่งที่ประจักษ์ชัดคือ การสู้รบครั้งนี้จะเกิดขึ้นในพื้นที่เมืองและนำมาสู่การสูญเสียชีวิต ทำลายล้าง และความบาดเจ็บของผู้คนเป็นวงกว้าง ตลอดจนภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม ...
เรื่องเล่าจากแนวหลัง หลายใบหน้าหลากเรื่องราวของประชาชนในบูชา

เรื่องเล่าจากแนวหลัง หลายใบหน้าหลากเรื่องราวของประชาชนในบูชา

, บทความ

ในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ บูชา เมืองเล็กๆ ที่เงียบสงบไม่ไกลจากกรุงเคียฟ เปลี่ยนโฉมหน้าไปจนทำให้หลายคนต้องหลั่งน้ำตา จากเมืองที่เคยเป็นบ้านของประชาชนเกือบสามแสน บัดนี้กลายเป็นเมืองร้างเนื่องจากประชากรเกือบทั้งหมด อพยพลี้ภัยจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ แต่ยังมีประชากรบางส่วนเลือกจะอยู่อาศัยในเมืองที่พวกเขารัก แม้มันจะยากลำบากเพราะระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานถึงการล่มสลาย ไม่มีน้ำ ไม่มีไฟฟ้า ผู้คนเหล่านี้มีเหตุผลที่แตกต่าง และนี่คือเรื่องราวของผู้คนจำนวนน้อยมากที่เลือกจะอยู่ข้างหลัง “เพื่อนบ้านของเราย้ายออกไปหมดแล้ว เราฝังร่างของลูกชายคนโตไว้ที่นี่ และฉันไม่อยากทิ้งให้เขาต้องอยู่เพียงลำพัง ลูกชายคนที่สองไม่ต้องการทิ้งฉันไว้คนเดียว เราเลยตัดสินใจที่จะอยู่ ความกลัวทำให้ฉันแทบบ้า เราสวดภาวนากันทุกวัน” กาลีน่า ดิมิเทรียฟน่า ...
อังรี ดูนังต์ และผู้ก่อตั้งกาชาดสากล ทำความรู้จักผู้ก่อตั้งทั้ง 5 คน ของ ICRC

อังรี ดูนังต์ และผู้ก่อตั้งกาชาดสากล ทำความรู้จักผู้ก่อตั้งทั้ง 5 คน ของ ICRC

, บทความ

หลายท่านอาจทราบว่าบิดาผู้เป็นเจ้าของแรงบันดาลใจในการก่อตั้งกลุ่มองค์กรกาชาด คือนายอังรี ดูนังต์ นักธุรกิจชาวสวิสที่บังเอิญเดินทางผ่านอิตาลี ในระหว่างที่การสู้รบในสมรภูมิโซลเฟริโนเพิ่งจบลงไม่นาน แต่ทราบหรือไม่ว่าผู้ก่อตั้งของ ICRC มีทั้งหมด 5 ท่านด้วยกัน แต่ละท่านล้วนมีส่วนร่วมในการวางรากฐานกลุ่มองค์กรกาชาดในมิติที่แตกต่าง โดยทุกท่านในที่นี้ ล้วนได้อ่านงานเขียนของนายอังรี ดูนังต์ – ความทรงจำแห่งโซลเฟริโน ตีพิมพ์ในปี 1862 และนำเหตุการณ์ที่ผู้เขียนบรรยายมาเป็นแรงบันดาลใจในการก่อตั้งองค์กรในภายหลัง ในตอนที่นายอังรี ดูนังต์ เดินทางผ่านไปยังอิตาลี การสู้รบที่โซลเฟริโนได้จบลงไปแล้ว ...
การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

, บทความ

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันน้ำโลก (World Water Day) ซึ่งเป็นวันที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะ ‘น้ำ’ เป็นปัจจัยสำคัญในการใช้ชีวิต นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่ามนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้ราว 3 สัปดาห์หากขาดอาหาร แต่สามารถมีลมหายใจได้เพียง 3-4 วัน หากปราศจากน้ำดื่ม อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ด้วยภาวะสงครามและความขัดแย้ง การเข้าถึงน้ำสะอาดยังคงเป็นปัญหาใหญ่ และเป็นเรื่องจำเป็นถึงชีวิตที่เราอยากหยิบมาบอกเล่าในวันสำคัญนี้ วิกฤตน้ำสะอาดเมื่อสงครามกระจายตัวสู่พื้นที่เมือง ...
“ศาสนาในประเทศอินเดีย” Podcast เพื่อสำรวจความเชื่อโบราณกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

“ศาสนาในประเทศอินเดีย” Podcast เพื่อสำรวจความเชื่อโบราณกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

เป็นเวลากว่าพันปีที่ประเพณีฮินดูและความเชื่ออื่นๆ ในอินเดีย ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดกับข้อปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในการทำสงคราม ภาพสะท้อนความเชื่อเหล่านี้ มีให้เห็นอย่างเด่นชัดผ่านมหากาพย์ต่างๆ ทั้งมหาภารตะและรามายณะ ICRC มุ่งมั่นในการทำความเข้าใจหลักธรรมทางศาสนาเพื่อมองหาจุดร่วมและแตกต่างระหว่างความเชื่อโบราณกับหลักการกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ โดยใน Podcast ตอนล่าสุด เราได้เชิญอาจารย์ราจ บัลคานัน (Raj Balkaran) นักวิชาการด้านตำราเรื่องเล่าภาษาสันสกฤต จาก Oxford Center for Hindu Studies อาจารย์วอลเตอร์ ...
พุทธศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ : การบรรยายโดย แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ

พุทธศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ : การบรรยายโดย แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ

, บทความ / บล็อค

พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่หลายคนรู้จักและเข้าใจว่าเป็นศาสนาแห่งอหิงสา (ความไม่เบียดเบียนและการเว้นจากการทำร้าย) และบ่อยครั้งมีการนำพุทธศาสนามาใช้ในบริบทของความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการป้องกัน การเจรจา รวมถึงแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง แต่ที่ผ่านมา มีการวิจัยค่อนข้างน้อยเกี่ยวกับทัศนคติของพุทธศาสนาที่มีต่อสถานการณ์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นโดยไม่อาจป้องกันได้หรือยังเกิดขึ้นอยู่ ดังนั้น ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) จึงพยายามเชื่อมประสานและสัมพันธ์กับวงการพุทธศาสนาทั้งในภูมิภาคเอเชียและภูมิภาคอื่น เพื่อบุกเบิกริเริ่มศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทัศนคติของพุทธศาสนาและหลักธรรมคำสอนที่มีต่อการทำสงคราม รวมถึงความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของพุทธศาสนากับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law – IHL) ในการบรรเทาอันตรายและความทุกข์ทรมานจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้น แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ ...
กฎหมายมนุษยธรรมอิสลาม: การนำเสนอโดย ดร. ซีอาเลาะห์ ราห์มานี

กฎหมายมนุษยธรรมอิสลาม: การนำเสนอโดย ดร. ซีอาเลาะห์ ราห์มานี

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ได้ศึกษาความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ที่มีร่วมกับศาสนาต่าง ๆ มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว โดยมุ่งหมายสำคัญของการศึกษาคือเพื่อเรียนรู้และกระตุ้นส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยอภิปรายระหว่างกันเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่มีความสำคัญ เช่น ศาสนาอิสลามนั้นเป็นศาสนาหนึ่งที่มีชุดกฎหมายมนุษยธรรมเป็นของตัวเองและนำชุดกฎหมายนี้มาใช้ในการบรรเทาความทุกข์ทรมานในสถานการณ์การขัดกันทางอาวุธ ในการบรรยายอันเป็นส่วนหนึ่งของโครงการหลักสูตร “ความขัดแย้ง ความรุนแรง และงานด้านมนุษยธรรม” ซึ่ง สถาบันพระปกเกล้า จัดขึ้นร่วมกับ ICRC และมูลนิธิสถาบันการจัดการวิถีพุทธเพื่อสุขและสันติ (มูลนิธิ สกพ.) ...