เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) ICRC ให้การสนับสนุนองค์กรการกุศลทั่วรัสเซียและยุโรปตะวันออก หนึ่งร้อยปีหลังสงครามสิ้นสุดลง ICRC ยังคงปกป้องชีวิตและศักดิ์ศรีของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของความขัดแย้งทางอาวุธและสถานการณ์ความรุนแรงอื่น ๆ ไปพร้อมกับการส่งเสริมและสนับสนุนกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (เด็กๆ ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าของรัสเซียช่วยกันเลี้ยงแพะเพื่อนำน้ำนมมาเป็นอาหาร ภาพนี้ถูกถ่ายที่เมือง Novgorod ในเดือนสิงหาคม ...
The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ลูกคือดวงใจของพ่อแม่’ ไม่ว่าจะในชาติใด วัฒนธรรมไหน ประโยคนี้ก็ยังเป็นจริงอยู่เสมอ ทุกวันนี้ยังมีครอบครัวอีกมาก ที่ต้องพลัดพรากจากกันเพราะภัยสงครามหรือความยากลำบาก การพาสมาชิกครอบครัวที่สูญหายให้ได้กลับมาเจอกัน เป็นหนึ่งในงานที่พวกเราชาว ICRC ภูมิใจ และนี่คือบทสนทนาระหว่างเรากับ พี่แอร์ – รัตนาภรณ์ พุ่มมั่น ...
ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

อิมมานูเอล (4 ขวบ) โมนิกา (6 ขวบ) และ วิกเตอร์ (12 ขวบ) เด็กทั้งสามถูกลักพาตัวไปจากหมูบ้านเล็กๆ ในประเทศซูดานใต้เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2016 ...
จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ICRC เริ่มให้ความช่วยเหลือผู้ลี้ภัยทางตะวันออกของประเทศยูเครนตั้งแต่ปี 2014 มีครอบครัวชาวยูเครนจำนวนมากตัดสินใจอพยพลี้ภัยความรุนแรงมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ทางตอนใต้ในประเทศรัสเซีย การทิ้งบ้านและชีวิตที่คุ้นเคยไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ความปลอดภัยของครอบครัวเป็นของมีค่าราคาแพงที่พวกเขายอมเสี่ยงทุกอย่างเพื่อแลกมา สามปีผ่านไป ชีวิตของพวกเขาเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง? นาตาเลีย, วาเซลี่ และ ลูบอฟ จะเป็นตัวแทนบอกเล่าเรื่องราวให้พวกเราได้รับรู้ นาตาเลีย ก่อนยูเครนจะเข้าสู่ความขัดแย้งอย่างปัจจุบัน ...
The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

#คุณรู้หรือไม่? ในปี 1975 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ เปิดสำนักงานเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสงครามอินโดจีน จากวันนั้นถึงวันนี้ ICRC มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง มาฟังคุณงามพิศ สุริยมงคล หรือพี่จี๊ด เล่าถึงประสบการณ์ทำงานกว่า 30 ...
Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

500,000 คือจำนานผู้อพยพที่เดินทางจากประเทศต่างๆ มายังแม็กซิโกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า แต่ไม่มีใครรู้ว่า ท่ามกลางผู้คนมากมาย มีใครบ้างที่ไปถึงหรือไม่ถึงจุดหมายที่ตั้งใจ… เพื่อติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง Kathryn Cook-Pellegrin ช่างภาพของ ICRC เริ่มโปรเจคพิเศษที่จะนำเรื่องราวจากท้องถนน มาให้คนทางบ้านได้อย่างเราๆ ได้เข้าใจ ทุกวันนี้มีบุคคลพลัดถิ่นจากเหตุความไม่สงบในพิ้นที่ต่างๆ ...
3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ทุกวันนี้เหตุความไม่สงบในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกพลักดันให้ประชากรหลายพันครัวเรือนต้องอพยพหนีความวุ่นวายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ปัจจุบันมีชาวคองโกจำนวนมากอาศัยอยู่ในเมือง Lunda Norte ในประเทศแองโกล่า หลายครอบครัวไม่มีโอกาสกล่าวคำอำลา และไม่รู้เลยว่าครอบครัวของตนยังมีชีวิตอยู่หรือไม่  ไม่นานมานี้ ICRC และกาชาดแองโกล่าได้เริ่มปฎิบัติการพิเศษในค่ายลี้ภัยเพื่อให้ผู้อพยพได้มีโอกาสติดต่อกับสมาชิกครอบครัวที่ประเทศคองโกอีกครั้ง ‘เวลาเพียงแค่ไม่กี่นาทีสามารถสร้างรอยยิ้มให้ใครหลายคนได้อีกหลายวัน เพราะวินาทีนั้นพวกเขาได้รู้ว่าคนที่ตนรักยังมีชีวิตอยู่’ นี่เป็นครั้งแรกที่ Maria Nganza ...
เกิดอะไรในยะไข่? มาฟังผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคเมียนมา พูดถึงเหตุการณ์ความไม่สงบที่ทั้งโลกกำลังจับตามอง

เกิดอะไรในยะไข่? มาฟังผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคเมียนมา พูดถึงเหตุการณ์ความไม่สงบที่ทั้งโลกกำลังจับตามอง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ใครติดตามข่าวสาร คงพอได้ยินปัญหาความรุนแรงทางภาคเหนือของเมียนมาที่พาให้คนกว่าครึ่งล้านอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังบังกลาเทศ เกิดอะไรขึ้นกันแน่? แล้ว ICRC เข้าไปทำอะไร? บทสัมภาษณ์จาก FABRIZIO CARBONI ผู้อำนวยการใหญ่ ICRC สำนักงานเมียนมา จะมาตอบข้อสงสัยให้เราฟัง คำถาม: เหตุไม่สงบที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีประชาชนอพยพออกจากพื้นที่ไปยังบังกลาเทศแล้วราวครึ่งล้าน ...
25 ปี ทุ่นระเบิดสังหาร มรดกสงครามในประเทศกัมพูชา

25 ปี ทุ่นระเบิดสังหาร มรดกสงครามในประเทศกัมพูชา

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

Tith Pao ในวัย 45 ปี ดูเป็นผู้ชายที่มีความสุข เขาเป็นทั้งชาวนาที่ประสบความสำเร็จ มีที่นาเป็นของตัวเอง และเป็นพ่อที่น่าเคารพในสายตาภรรยาและลูกๆ ใครจะรู้ว่าย้อนกลับไป 25 ปี ชายท่าทางใจดีตรงหน้า เคยเป็นเหยื่อทุ่นระเบิดสังหารจนต้องเสียเท้ากลายเป็นคนพิการตั้งแต่อายุ 20 ...
‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ที่หมู่บ้านห่างไกลในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา หญิงสาวท่านหนึ่งกำลังตักน้ำขึ้นรดบนศรีษะของหญิงชรา พิธีนี้เรียกว่า Srong Peah เป็นการแสดงความนอบน้อมต่อบิดามารดา และขอขมาลาโทษในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกิน   ดูด้วยตา พิธีที่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่หากฟังด้วยใจ เรื่องราวเบื่องหลังภาพนี้มีที่มาชวนน้ำตาไหลที่ต้องย้อนกลับไปไกลกว่า 40 ปี ‘พี่น้องของฉันมีโอกาสทำพิธีนี้ได้ทุกวัน ...