กลุ่มองค์กรกาชาด

เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงมีถนนชื่อว่า ‘อังรี ดูนังต์’ ในกรุงเทพฯ?

เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงมีถนนชื่อว่า ‘อังรี ดูนังต์’ ในกรุงเทพฯ?

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

ถนนชื่อ “อังรีดูนังต์” ได้รับชื่อตามชื่อของผู้ให้กำเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ นายฌ็อง อังรี ดูนังต์ (Jean Henri Dunant) ตามคำร้องขอของสันนิบาตสภากาชาด (League of Red Cross Societies: ...
กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

, News / กลุ่มองค์กรกาชาด / บล็อค / ไทย

เจนีวา-กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ประกาศระดมทุนฉุกเฉินจำนวน 800 ล้านสวิสฟรังก์ หรือประมาณ 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบางให้สามารถยับยั้งและฟื้นฟูเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) แม้ว่าเชื้อไวรัส COVID-19 จะแพร่ระบาดไปทั่วโลกแล้วก็ตาม แต่การช่วยให้ผู้คนเข้าถึงทรัพยากรที่จำเป็นจะสามารถช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อและลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้นอยลง ฟรานเซสโก ร็อกกา ...
The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

The Face of ICRC: เส้นทาง 30 ปี กับการทำงานด้านมนุษยธรรม

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

#คุณรู้หรือไม่? ในปี 1975 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ เปิดสำนักงานเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสงครามอินโดจีน จากวันนั้นถึงวันนี้ ICRC มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง มาฟังคุณงามพิศ สุริยมงคล หรือพี่จี๊ด เล่าถึงประสบการณ์ทำงานกว่า 30 ...
Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

500,000 คือจำนานผู้อพยพที่เดินทางจากประเทศต่างๆ มายังแม็กซิโกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า แต่ไม่มีใครรู้ว่า ท่ามกลางผู้คนมากมาย มีใครบ้างที่ไปถึงหรือไม่ถึงจุดหมายที่ตั้งใจ… เพื่อติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง Kathryn Cook-Pellegrin ช่างภาพของ ICRC เริ่มโปรเจคพิเศษที่จะนำเรื่องราวจากท้องถนน มาให้คนทางบ้านได้อย่างเราๆ ได้เข้าใจ ทุกวันนี้มีบุคคลพลัดถิ่นจากเหตุความไม่สงบในพิ้นที่ต่างๆ ...
เกิดอะไรในยะไข่? มาฟังผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคเมียนมา พูดถึงเหตุการณ์ความไม่สงบที่ทั้งโลกกำลังจับตามอง

เกิดอะไรในยะไข่? มาฟังผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคเมียนมา พูดถึงเหตุการณ์ความไม่สงบที่ทั้งโลกกำลังจับตามอง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ใครติดตามข่าวสาร คงพอได้ยินปัญหาความรุนแรงทางภาคเหนือของเมียนมาที่พาให้คนกว่าครึ่งล้านอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังบังกลาเทศ เกิดอะไรขึ้นกันแน่? แล้ว ICRC เข้าไปทำอะไร? บทสัมภาษณ์จาก FABRIZIO CARBONI ผู้อำนวยการใหญ่ ICRC สำนักงานเมียนมา จะมาตอบข้อสงสัยให้เราฟัง คำถาม: เหตุไม่สงบที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีประชาชนอพยพออกจากพื้นที่ไปยังบังกลาเทศแล้วราวครึ่งล้าน ...
‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ที่หมู่บ้านห่างไกลในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา หญิงสาวท่านหนึ่งกำลังตักน้ำขึ้นรดบนศรีษะของหญิงชรา พิธีนี้เรียกว่า Srong Peah เป็นการแสดงความนอบน้อมต่อบิดามารดา และขอขมาลาโทษในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกิน   ดูด้วยตา พิธีที่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่หากฟังด้วยใจ เรื่องราวเบื่องหลังภาพนี้มีที่มาชวนน้ำตาไหลที่ต้องย้อนกลับไปไกลกว่า 40 ปี ‘พี่น้องของฉันมีโอกาสทำพิธีนี้ได้ทุกวัน ...
โครงการส่งเสริมอาชีพ – สร้างรายได้ที่มั่นคงให้ผู้ได้รับผลกระทบในภาคใต้

โครงการส่งเสริมอาชีพ – สร้างรายได้ที่มั่นคงให้ผู้ได้รับผลกระทบในภาคใต้

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ทุกวันนี้มีครอบครัวจำนวนไม่น้อยในพื้นที่ภาคใต้ที่ประสบปัญหาขาดเสาหลักของครอบครัวและโอกาสในการประกอบอาชีพ ICRC ในฐานะที่เป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมเข้าใจถึงความจำเป็นในการส่งเสริมและฟื้นฟูความเป็นอยู่ของผู้ประสบปัญหาให้กลับมามีรายได้เพียงพอต่อการใช้ชีวิตและดูแลสมาชิกในครอบครัว และมองเห็นศักยภาพของกิจกรรมสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนด้วยการให้ทุนสนับสนุนภายใต้โครงการส่งเสริมอาชีพ หรือที่เรียกว่า Micro Economic Initiative (MEI) พี่มีนา หนึ่งในผู้ร่วมโครงการได้เล่าให้เราฟังถึงประสบการทำงานร่วมกับ ICRC หลังสามีเสียชีวิตเธอต้องสลับบทบาทมาเป็นเสาหลักหารายได้ส่งเสียเลี้ยงดูลูกๆ ทั้ง 9 ...
แข่งกับเวลา! เจ้าหน้าที่ ICRC เตรียมพร้อมรับมือหน้าหนาว -20 องศา โดยไม่มีก๊าซ/ไฟฟ้า ในยูเครน

แข่งกับเวลา! เจ้าหน้าที่ ICRC เตรียมพร้อมรับมือหน้าหนาว -20 องศา โดยไม่มีก๊าซ/ไฟฟ้า ในยูเครน

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในขณะที่ความขัดแย้งยังไม่มีท่าทีจะสิ้นสุด ‘ฤดูหนาว’ ศตรูตัวร้ายของชาวยูเครนก็กำลังจะกลับมา ท่ามกลางอากาศหนาวกว่า -20 องศา ไม่มีแก๊ซและไฟฟ้า ประชาชนในพื้นที่สงครามทางตะวันออกของยูเครนจะผ่านหนาวนี้ไปได้อย่างไร? นี่เป็นคำถามใหญ่ที่เพื่อนรวมงานของเราในยูเครนกำลังประสบ `ถ้าคุณอยู่ในพื้นที่ขัดแย้ง นอกจากจะต้องคอยหลบลูกกระสุน คุณยังจะต้องลุ้นว่าหน้าหนาวนี้จะติดลบไปถึงกี่องศา` Alain Aeschlimann  ผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานภูมิภาคในยูเครนให้สัมภาษณ์ ...
การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การใช้เครื่องหมายกาชาดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

อย่างที่เราได้ทราบกันไปแล้วในบทความก่อนหน้าว่าเครื่องหมายกาชาดเป็นเครื่องหมายที่ได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3 ของอนุสัญญาเจนีวา  เครื่องหมายกาชาดจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการคุ้มครองบุคลากรและผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมและด้านการแพทย์ในกรณีที่เกิดข้อพิพาททางอาวุธ โดยเครื่องหมายดังกล่าวจะติดอยู่กับยานพาหนะทางการแพทย์ สิ่งก่อสร้าง หรือตัวบุคคล ภายใต้ขอบเขตของอนุสัญญาเจนีวารวมถึงพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 3  เช่น หน่วยแพทย์ในกองทัพ โรงพยาบาลของพลเรือน เป็นต้น นอกจากเครื่องหมายกาชาดแล้ว อนุสัญญาเจนีวาและพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ ...
สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

จากปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งทางทหารทั่วโลก พร้อมได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพถึง 3 ครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี เป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นที่เคารพมากที่สุดในโลก เมื่อเร็วๆ นี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศได้กลายเป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมแห่งแรกของโลกที่ใช้เทคโนโลยีวิดีโอเกมส์ในการปฏิบัติงานภายในอีกด้วย “คุณอาจพูดได้ว่าเราเป็นบริษัทเกมส์เล็กๆ” คริสเตียน รูแฟร์ หัวหน้าแผนก ...