บล็อค

ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, E-Book / บล็อค

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศคืออะไร? มีที่มาแบบไหน? คุ้มครองใครบ้าง? ต่างจากกฎหมายสิทธิมนุษยชน (Human Rights Law) อย่างไร? อะไรคือความแตกต่างระหว่าง jus ad bellum และ jus in bello? ดาวน์โหลดเอกสาร ถาม-ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และเอกสารฉบับย่อ หรืออ่านบทความสรุป กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทำความรู้จัก ...
ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

, บทความ / บล็อค

การระบาดหนักของโรคโควิด-19 สร้างความตื่นตระหนกให้ผู้คนทั่วโลก จะเป็นอย่างไรถ้าโรคร้ายย่างกรายเข้าสู่เรือนจำ ? Elena Leclerc ผู้ประสานงานด้านสุขภาพเรือนจำของ ICRC เล่าให้เราฟังถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นหากโควิด-19 ระบาดเข้าสู่เรือนจำ สภาพแออัดประกอบกับระบบสาธารณสุขที่อาจไม่เพียงพอ คุณหมอ Elena มีความคิดเห็นอย่างไรกับสถานการณ์ในเรือนจำกว่า 50 ประเทศ ที่ ICRC ให้การสนับสนุน Q: ทำไมประชากรในเรือนจำถึงเป็นกลุ่มเสี่ยงสำหรับโควิด-19 A: ผู้คนในสถานที่คุมขังมักมีภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปราะบาง ...
*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

, บทความ / บล็อค

เมื่อพูดถึงหนังสงครามหลังศตวรรษที่ 20 ไม่ต้องสงสัยว่าสงครามโลกครั้งที่ 2 คือเหตุการณ์ที่ถูกนำมาเล่าซ้ำบ่อยที่สุด ไม่บ่อยนักที่ภาพลักษณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1 ถูกจับมาเป็นประเด็นในหนังเรื่องเด่นที่กลายเป็นกระแสไปทั่วโลก 1917 ของผู้กำกับ แซม เมนเดส บอกเล่าความสิ้นหวังของการรบในสนามเพลา ผ่านการต่อสู้ที่ดูเหมือนจะไร้ความหมาย และความไม่รู้ของสองตัวละครหนุ่มที่ได้รับหน้าที่สำคัญ นำจดหมายไปส่งเพื่อยกเลิกปฎิบัติการที่อาจนำมาซึ่งความตายของทหารอีกหลายพัน หลายคนตั้งข้อสงสัย ถ้าเรื่องนี้เกิดในปัจจุบัน หนังคงจบตั้งแต่ 5 นาที เพราะมีโซเชียลมีเดียและวิธีติดต่อสื่อสารมากมาย แต่ถ้าว่ากันด้วยกฎหมาย ...
จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

, บทความ / บล็อค

แม้กฎหมายจะห้าม แต่เมื่อเกิดการสู้รบและการขัดกันทางอาวุธ เด็กหลายคนยังคงถูกเกณฑ์ให้เป็นทหารและถูกใช้ให้ทำหน้าที่ต่างๆ โดยกลุ่มติดอาวุธที่บางกรณีถูกจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นโยบายและแนวปฏิบัติที่นำมาใช้เพื่อจัดการกับความรุนแรงอันสุดโต่งของกลุ่มดังกล่าว จะต้องปฏิบัติต่อเด็กที่ผ่านการนำเข้าร่วมในการสู้รบในฐานะที่พวกเขาเป็นเหยื่อผู้เสียหายก่อนเป็นสิ่งสำคัญที่สุดอันดับแรก โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าพวกเขามีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธอย่างไร แล้วจึงค่อยดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวเด็ก ช่วงปีที่ผ่านมา ประเด็นว่าด้วยการเกณฑ์เด็กเป็นทหารและใช้ให้ทำงานโดยกลุ่มติดอาวุธหลายกลุ่ม ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติหรือแต่ละรัฐจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” นั้น ได้เป็นประเด็นที่ผู้กำหนดนโยบายและสาธารณชนในวงกว้างให้ความสนใจมากขึ้น และที่สำคัญก็คือ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเองก็ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่จะต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษต่อการปฏิบัติต่อเด็กผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงผู้ที่กระทำการก่อการร้าย ตามที่ระบุไว้ในข้อมติ 2427 (2018) อีกทั้ง ...
เอธิโอเปีย-โซมาเลีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอกาศและความรุนแรงทำให้ผู้คนหลักล้านติดกับดักความหายนะ

เอธิโอเปีย-โซมาเลีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอกาศและความรุนแรงทำให้ผู้คนหลักล้านติดกับดักความหายนะ

, บทความ / บล็อค

ผู้คนหลักล้านในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ คาบสมุทรโซมาลี กำลังเผชิญภาวะวิกฤตที่เป็นส่วนผสมของภัยธรรมชาติ ความแห้งแล้ง อุทกภัย และภัยที่เกิดจากความรุนแรงและความขัดแย้งของมนุษย์ “ผู้คนในเอธิโอเปีย โซมาเลีย และส่วนอื่นๆ ของแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ตรงกลางระหว่างสองสถานการณ์ที่ต่างกันสุดขั่ว” ปีเตอร์ เมาเร่อ ประธาน ICRC กล่าว “เปียกเกินไป แห้งเกินไปและร้อนเกินไป เหล่านี้คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากจะต้องหลบหนีจากความรุนแรง ความแห้งแล้งและน้ำท่วมอาจเปลี่ยนให้สถานการณ์เลวร้ายลงได้อีกหลายเท่าตัว” ในหนึ่งวัน ผู้คนหลายพันต้องหลบหนีออกจากบ้านโดยมีสาเหตุจากทั้งความรุนแรงและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ...
ICRC x Fortnite สนุกกับเกมส์เพื่อรักษาชีวิต

ICRC x Fortnite สนุกกับเกมส์เพื่อรักษาชีวิต

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ร่วมมือกับเหล่านักสตรีมเมอร์ของ Fortnite ไม่ว่าจะเป็น Dr.Lupo, Lachlan และ One shot Gurl เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์การสู้รบและความรุนแรง รวมถึงการช่วยเหลือเหยื่อผู้เดือดร้อนจากสถานการณ์ดังกล่าวในหมู่นักเล่นเกม โดยใช้แพลตฟอร์มเกมวิดีโอใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อวันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา ที่แพ็กซ์ เซาท์ อารีน่า (PAX South Arena) ...
สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เปิดเผยรายงานการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นมิลเลนเนียล 16000 คน ใน 16 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อสงครามและการสู้รบ โดยกลุ่มคนที่ทำการสอบถามมีอายุระหว่าง 20-35 ปี อาศัยอยู่ในประเทศที่มีและไม่มีสงคราม คือ อัฟกานิสถาน โคลัมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย อิสราเอล มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ปาเลสไตน์ รัสเซีย ...
ถาม-ตอบ เรื่องการปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม

ถาม-ตอบ เรื่องการปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม

, บทความ / บล็อค

ทำไมการทำลายทรัพย์สินทางวัฒนธรรมในระหว่างความขัดแย้งจึงเป็นเรื่องน่าเป็นห่วง ผลกระทบของสงครามและความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ไกลเกินกว่าโศกนาฏกรรมแบบที่เราคุ้นเคย ความเสียหายกินความหมายถึงสิ่งต่างๆ ทั้ง พิพิธภัณฑ์ อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์หรือแหล่งโบราณคดี – เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์และความทรงจำของผู้คนในท้องที่  การโจมตีทรัพย์สินทางวัฒนธรรมเป็นมากกว่าการทำลายอิฐ ไม้ หรือ ปูน แต่เป็นการทำลายศักดิ์ศรีและอนาคตของประชากรทั้งหมด ในปี 2016 ICRC สอบถามประชากร 17,000 คน จาก 16 ประเทศ กว่า ...
สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

, บทความ / บล็อค

เนื่องในวาระครบรอบอนุสัญญาเจนีวา บรรดาผู้ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านมนุษยธรรมและผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายได้ใช้โอกาสนี้สะท้อนบทเรียนที่ได้รับจากสนธิสัญญาทั้งสี่ฉบับที่ได้รับการให้สัตยาบันอย่างเป็นสากลและเป็นที่ยอมรับตลอดระยะเวลาเจ็ดทศวรรษแห่งสงคราม บทความนี้ต่อยอดมาจากการศึกษาด้านอภิปรัชญา (metaphysical) ของ Helen Durham เกี่ยวกับข้อท้าทายทั้งในอดีตและปัจจุบันที่กฎหมายมนุษยธรรมกำลังเผชิญอยู่ บทความนี้จึงได้ทำการสำรวจและแสดงเหตุผลหักล้างข้อกล่าวอ้างที่มักจะถูกนำมาใช้อยู่เสมอ ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นนักวิชาการและมีส่วนผลักดันกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างเปิดเผย ข้าพเจ้าได้สังเกตเห็นปัญหาของวาทกรรมที่ใช้กล่าวถึงอนุสัญญาเจนีวา เนื้อความสำคัญของวาทกรรมดังกล่าวคือ “ข้าพเจ้าเห็นแต่ความรุนแรงและความวุ่นวายเกิดขึ้นบนโลก การเผยแพร่บทกฎหมายเป็นสิ่งที่ดีอยู่ก็จริง แต่บทบัญญัติดังกล่าวถูกยกร่างขึ้นในยุคสมัยที่โฉมหน้าของสงครามนั้นแตกต่างออกไป แล้วทหารที่สู้รบในแนวรบจะเข้าใจกฎหมายสงครามหรือไม่ ทั้งนี้มิต้องกล่าวถึงการปฏิบัติตามกฎหมายเช่นว่า” ข้าพเจ้าจะไม่ยอมคล้อยตามข้อกังขานี้ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ไม่ได้มีเฉพาะการกระทำอันโหดร้ายทารุณในเขตที่เกิดความขัดแย้ง ดังที่รายงานบนหน้าหนังสือพิมพ์  เพื่อค้นหาความจริงข้าพเจ้าจึงนำข้อกล่าวอ้างสามประการมาตรวจสอบด้วยพยานหลักฐานที่คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ...
การประชุมกาชาดโลก – กว่า 160 รัฐรวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาด้านมนุษยธรรมที่เร่งด่วนที่สุดในโลก

การประชุมกาชาดโลก – กว่า 160 รัฐรวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาด้านมนุษยธรรมที่เร่งด่วนที่สุดในโลก

, บทความ / บล็อค

ตัวแทนจาก 168 ประเทศ และสมาชิกกลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดง 187 แห่งทั่วโลก ร่วมการประชุมนานาชาติเพื่อถกปัญหามนุษยธรรม นำเสนอประเด็นน่าสนใจและกำหนดทิศทางต่อไปในการดำเนินการของกลุ่มองค์กรกาชาด ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ การประชุมที่ว่าจัดขึ้นเป็นประจำทุก 4 ปี และจัดต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 1867 โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อยกระดับปฎิบัติการด้านมนุษยธรรมทั่วโลก ในการประชุมครั้งก่อนหน้า ที่ประชุมมีความเห็นให้ความสำคัญในประเด็นด้านกฎหมายมนุษยธรรมกับกรอบความคุ้มครองเพื่อปกป้องอาสาสามัครที่ทำหน้าที่ในพื้นที่ภัยพิบัติ ในปีล่าสุด ประเด็นหลักที่ได้รับการถกเถียงในที่ประชุม ครอบคลุมเรื่อง ความเชื่อมั่น, สุขภาพจิต, ...