ICRC

Ushindi อดีตทหารเด็กบทเส้นทางแห่งการเยียวยา

Ushindi อดีตทหารเด็กบทเส้นทางแห่งการเยียวยา

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ทุกวันนี้ยังมีเด็กอีกมากในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (the Democratic Republic of the Congo (DRC)) ถูกบังคับให้เป็นทหารและต้องจับอาวุธมาเข่นฆ่ากันเอง ตามรายงานของ UNICEF มีเด็กอีกกว่า 3,000 คน โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกและภาคกลางของประเทศ ...
ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) เรียกร้องให้บรรดารัฐ ผู้นำและประชากรโลก ร่วมมือกันป้องปรามการใช้อาวุธนิวเคลียร์ มิฉะนั้นมนุษยชาติอาจต้องเผชิญมหันตภัยจากอาวุธนิวเคลียร์ที่เกินเยียวยาก็เป็นได้ เมื่อพิจารณาถึงอานุภาพที่ร้ายแรงของอาวุธนิวเคลียร์แล้ว ทางออกที่ดีที่สุดในเวลานี้คือการดำเนินการในเชิงป้องกันจนกว่าจะมั่นใจได้ว่าอาวุธนิวเคลียร์จะไม่ถูกนำมาใช้อีกต่อไป เพื่อหลีกเลี่ยงหายนะจากอาวุธนิวเคลียร์ รัฐทั้งหลายต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน ดังนี้ รัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์ในความครอบครองรวมถึงรัฐที่เป็นพันธมิตรต้องหาหนทางเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาวุธนิวเคลียร์จะถูกนำมาใช้ พร้อมทั้งให้ประชาคมโลกร่วมเป็นผู้สอดส่องปฏิบัติการดังกล่าว รัฐที่เป็นภาคีสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ) Treaty on ...
ความขัดแย้งในมาราวี- หนึ่งปีที่ผ่านไปกับอนาคตที่ไม่แน่นอนของประชากรพลัดถิ่น

ความขัดแย้งในมาราวี- หนึ่งปีที่ผ่านไปกับอนาคตที่ไม่แน่นอนของประชากรพลัดถิ่น

, บทความ / บล็อค

มะนิลา- ยังคงมีประชาชนกว่า 230,000 คน ที่ไร้ที่อยู่อาศัยและต้องการความช่วยเหลือ หลังจากสถานการณ์ความขัดแย้งในเมืองมาราวี จังหวัด Lanao del Sur ทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์อุบัติขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน “จะต้องมีการยกระดับความพยายามในการฟื้นฟูมาราวีและช่วยเหลือประชาชนอย่างเร่งด่วนเพื่อบรรเทาความทุกข์ยากของประชาชนหลายพันคนที่ต้องกลายเป็นผู้พลัดถิ่นตลอดช่วงปีที่ผ่านมา ความพยายามได้เกิดขึ้นแล้วแต่มาตรการนี้จะต้องดำเนินควบคู่ไปกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มของประชาชนที่กลายเป็นผู้พลัดถิ่นมาเป็นเวลานาน” ปาสกาล ปอร์เช็ต ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ประจำฟิลิปปินส์กล่าว จากมาตรการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นจนนำไปสู่การฟื้นฟูในระยะเบื้องต้นในปัจจุบัน ปรากฏว่าการบริจาคอาหารได้ลดจำนวนลงและโอกาสในการกลับไปดำเนินชีวิตตามปกติแทบไม่เกิดขึ้น ผู้พลัดถิ่นจำนวนมากต้องหันไปพึ่งพาญาติพี่น้องหรือเพื่อนขณะที่คนที่ยังอยู่ในพื้นที่พักพิงยังต้องต่อสู้กับความยากจนและโอกาสเจ็บป่วยที่เพิ่มสูงขึ้น “เป็นระยะเวลาหนึ่งปีมาแล้วที่การปะทะกันด้วยอาวุธได้เกิดขึ้นและเรายังไม่รู้ว่าอนาคตข้างหน้าจะเป็นเช่นไร ฉันเริ่มรู้สึกถึงปัญหาที่กำลังเพิ่มขึ้นและบางครั้งถึงกับทำให้ฉันรู้สึกท้อ ...
ผมไม่เคยเห็นคนเจ็บมากขนาดนี้มาก่อน

ผมไม่เคยเห็นคนเจ็บมากขนาดนี้มาก่อน

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เริ่มจากผู้บาดเจ็บหนึ่งคน จากนั้นเพิ่มเป็นสอง แปด สิบหก ในเวลาไม่นานโรงพยาบาลก็เต็มไปด้วยเสียงร้องระงมในไม่ถึงหนึ่งชั่วโมง ผมอยู่ในทีมแพทย์ภาคสนามของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ประจำการอยู่ที่โรงพยาบาล Gaza European Hospital ในเมือง Khan Younis ของกาซ่า ...
เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ประชาชนในรัฐคะฉิ่นประเทศเมียนมา มีชีวิตอยู่ท่ามกลางความขัดแย้งที่ยืดเยื้อมานานตั้งแต่ปี 2011 เมื่อความรุนแรงปะทุขึ้นอีกครั้งในเดือนเมษายนที่ผ่านมา ประชาชนกว่า 6,800 คน ต้องอพยพออกจากที่อยู่อาศัย ตัวเลขนี้ยังไม่นับไปถึงประชากรอีกราว 100,000 ที่กลายเป็นผู้พลัดถิ่นมาแล้วหลายปีก่อนหน้า สถาณการณ์ในเดือนล่าสุด(เมษายน) ผู้คนมากมายต้องเดินเท้าจากพื้นที่เสี่ยงเป็นระยะทางหลายกิโลเมตรเพื่อมายังสถานที่ตั้งค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในโบสถ์นอกเมือง Myit Kyi ...
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในปี 1982 สงครามระหว่างอาร์เจนตินาและสหราชอาณาจักรสร้างบาดแผลให้หลายครอบครัว สงครามเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 1982 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์-อาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้น ฝ่ายอาร์เจนตินาอ้างว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ สงครามที่ว่าสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ...
บุคลากรทางการแพทย์ตกเป็นเป้าโจมตีจากเหตุความไม่สงบไม่เว้นแต่ละวัน

บุคลากรทางการแพทย์ตกเป็นเป้าโจมตีจากเหตุความไม่สงบไม่เว้นแต่ละวัน

, บทความ

แม้ว่าในปี 2016 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะผ่านมติห้ามโจมตีสถานพยาบาล แต่สองปีหลังการบังคับใช้ บุคลาการทางการแพทย์ที่ปฎิบัติภารกิจด้านมนุษยธรรมทั่วโลก ก็ยังตกเป็นเป้าหมายการโจมตีไม่เว้นแต่ละวัน เมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมานี้เอง ที่สาธารณรัฐแอฟริกากลาง มีกลุ่มติดอาวุธบุกโจมตีโรงพยาบาลที่เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของ ICRC ปฎิบัติหน้าที่อยู่ เหตุความรุนแรงลุกลามไปถึงการบังคับจอดและข่มขู่รถพยาบาลที่กำลังรับส่งผู้ป่วยบนท้องถนน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ระบุว่าหน่วยงานด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนรถพยาบาล ควรได้รับการคุ้มครองจากทุกฝ่าย น่าเสียดายว่า ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2016 จนถึงวันนี้ ICRC ได้รับแจ้งเหตุการโจมตีเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทางการแพทย์มากกว่า ...
ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

การดูแลฝูงปศุสัตว์ให้มีสุขภาพดีช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ในประเทศที่มีความขัดแย้ง คุณต้องเตรีมพร้อมที่จะอพยพตลอดเวลา การเลี้ยงสัตว์ตอบโจทย์ข้อจำกัดที่ว่า เพราะมีความคล่องตัวสูงกว่าไม่เหมือนการทำเกษตรกรรม”  Ada Jacobsen ผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์ของ ICRC กล่าวระหว่างการจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้ฝูงสัตว์ในหุบเขา Maura Hills “ถ้าไม่มีปศุสัตว์เป็นของตัวเอง ก็เหมือนคุณไม่ใช่ชาวซูดานใต้ ” ...
อาวุธเคมี : ฆาตกรร้าย ความหมาย และความสำคัญ

อาวุธเคมี : ฆาตกรร้าย ความหมาย และความสำคัญ

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ข่าวการใช้อาวุธเคมีโจมตีผลเรือนในเมืองดูมาของซีเรีย และข่าวการใช้สารเคมีทำลายประสาทเพื่อลอบสังหารอดีตสายลับรัสเซียในอังกฤษ กลายเป็นประเด็นใหญ่ที่ทำให้การใช้อาวุธเคมี กลายเป็นที่พูดถึงกันอย่างกว้างขวาง มาฟัง  Johnny Nehme ผู้เชี่ยวชาญด้านอาวุธเคมี ชีวภาพ รังสี และนิวเคลียร์ ของ ICRC ตอบคำถาม 5 ...
The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ไม่ต้องบอกก็รู้ว่า อิรัก คงไม่ใช่จุดหมายหลักของคนทั่วไป เมื่อทราบว่ามีเพื่อนร่วมงานจากแผนกน้ำและที่อยู่อาศัย (Water and Habitat) เคยไปใช้ชีวิตอยู่ในอิรัก เราก็ชักอยากทำความรู้จักขึ้นมา การทำงานสามเดือนในประเทศที่อยู่บนหน้าข่าวสงครามยาวนานร่วมสิบปี มีความสนุกและท้าทายอย่างไร? ข้างล่างนี้มีพื้นที่มากพอให้ กานต์ ตุ้มศรี วิศวกรของ ...