family reunion

วันผู้สูญหายสากล ความหวังของคนที่อยู่ข้างหลัง

วันผู้สูญหายสากล ความหวังของคนที่อยู่ข้างหลัง

, บทความ / บล็อค

“ฉันตื่นขึ้นกลางดึกใต้ต้นมะม่วง ได้แต่ร้องไห้ซ้ำแล้วซ้ำอีก” “เมื่อพระอาทิตย์ขึ้นพ้นขอบฟ้า ฉันจึงกลับเข้าบ้านอีกครั้ง” “ฉันใช้ชีวิตซ้ำๆ เช่นนี้เป็นวลา 2 ปี” “หลายคนสงสัย ฉันไปนอนทำไมใต้ต้นมะม่วง” “ทุกๆ คืน ฉันได้แต่ภาวนา ‘พระเจ้า ถ้าลูกชายของลูกยังมีชีวิตอยู่ ขอให้ลูกมะม่วงตกลงมา ลูกจะได้รู้ว่าตัวเองยังมีชีวิตอยู่เพื่ออะไร’” คลีเมนติน่า มูซ่า คุณแม่จากอเมริกาใต้ เล่าให้เราฟังถึงความหวังเล็กๆ ที่จะได้พบลูกชายหลังสูญหายไร้การติดต่อเป็นเวลากว่าสามสิบปี ทุกวันนี้ ...
บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ใบอนุญาตผ่านทาง บัตรประจำตัว เงินสด’ เธอย้ำซ้ำแล้วซ้ำอีกเพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีอะไรที่ตกหล่น เธอคงให้อภัยตัวเองไม่ได้หากมีอะไรขาดหายไป ‘ข่าวจากครอบครัว เรื่องราวของเพื่อนบ้าน’ อย่าลืมบอกเขาว่าเธอคิดถึงเขามากแค่ไหน เพราะถ้าพลาดไป หมายถึงเธอต้องรอไปอีกร่วมหนึ่งเดือน ‘เสื้อผ้าชุดเก่า หนังสือที่เขาเคยอ่าน ภาพถ่ายที่เริ่มเลือนลาง และจดหมายที่มีลายมือของเขา’ เธอมองอีกครั้งก่อนออกเดินทาง ...
The Promise: กระดาษหนึ่งแผ่นเปลี่ยนชีวิตคุณได้อย่างไร?

The Promise: กระดาษหนึ่งแผ่นเปลี่ยนชีวิตคุณได้อย่างไร?

, บทความ

  ICRC จับมือกับผู้กำกับฝีมือดี Bassam Tariq ถ่ายทอดภาพสะเทือนใจของครอบครัวที่พลัดพรากผ่านหนังสั้นความยาว 4 นาที เรื่อง Wa’ad (The Promise – คำสัญญา) หนังบอกเล่าเรื่องราวยากจะบรรยายผ่านสายตาและบทสนทนาของลูกชายกับผู้เป็นพ่อที่ซ้อนทับเหตุการณ์ต่างๆ จนนำไปสู่บทสรุปที่น่าตกตะลึง ‘แนวคิดของหนังเรื่องนี้คือการสื่อสารให้ผู้ชมได้ฉุกคิดว่าข้อความในกระดาษมีพลังมากแค่ไหน’ Bassam Tariq กล่าว ‘มันอาจไกลตัวจนเรานึกไม่ถึง แต่ในมุมหนึ่งของโลก มีผู้คนมากมายที่ต้องพลัดพราก ...
เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ประชาชนในรัฐคะฉิ่นประเทศเมียนมา มีชีวิตอยู่ท่ามกลางความขัดแย้งที่ยืดเยื้อมานานตั้งแต่ปี 2011 เมื่อความรุนแรงปะทุขึ้นอีกครั้งในเดือนเมษายนที่ผ่านมา ประชาชนกว่า 6,800 คน ต้องอพยพออกจากที่อยู่อาศัย ตัวเลขนี้ยังไม่นับไปถึงประชากรอีกราว 100,000 ที่กลายเป็นผู้พลัดถิ่นมาแล้วหลายปีก่อนหน้า สถาณการณ์ในเดือนล่าสุด(เมษายน) ผู้คนมากมายต้องเดินเท้าจากพื้นที่เสี่ยงเป็นระยะทางหลายกิโลเมตรเพื่อมายังสถานที่ตั้งค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในโบสถ์นอกเมือง Myit Kyi ...
ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) ICRC ให้การสนับสนุนองค์กรการกุศลทั่วรัสเซียและยุโรปตะวันออก หนึ่งร้อยปีหลังสงครามสิ้นสุดลง ICRC ยังคงปกป้องชีวิตและศักดิ์ศรีของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของความขัดแย้งทางอาวุธและสถานการณ์ความรุนแรงอื่น ๆ ไปพร้อมกับการส่งเสริมและสนับสนุนกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (เด็กๆ ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าของรัสเซียช่วยกันเลี้ยงแพะเพื่อนำน้ำนมมาเป็นอาหาร ภาพนี้ถูกถ่ายที่เมือง Novgorod ในเดือนสิงหาคม ...
The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ลูกคือดวงใจของพ่อแม่’ ไม่ว่าจะในชาติใด วัฒนธรรมไหน ประโยคนี้ก็ยังเป็นจริงอยู่เสมอ ทุกวันนี้ยังมีครอบครัวอีกมาก ที่ต้องพลัดพรากจากกันเพราะภัยสงครามหรือความยากลำบาก การพาสมาชิกครอบครัวที่สูญหายให้ได้กลับมาเจอกัน เป็นหนึ่งในงานที่พวกเราชาว ICRC ภูมิใจ และนี่คือบทสนทนาระหว่างเรากับ พี่แอร์ – รัตนาภรณ์ พุ่มมั่น ...
ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

อิมมานูเอล (4 ขวบ) โมนิกา (6 ขวบ) และ วิกเตอร์ (12 ขวบ) เด็กทั้งสามถูกลักพาตัวไปจากหมูบ้านเล็กๆ ในประเทศซูดานใต้เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2016 ...
Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

500,000 คือจำนานผู้อพยพที่เดินทางจากประเทศต่างๆ มายังแม็กซิโกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า แต่ไม่มีใครรู้ว่า ท่ามกลางผู้คนมากมาย มีใครบ้างที่ไปถึงหรือไม่ถึงจุดหมายที่ตั้งใจ… เพื่อติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง Kathryn Cook-Pellegrin ช่างภาพของ ICRC เริ่มโปรเจคพิเศษที่จะนำเรื่องราวจากท้องถนน มาให้คนทางบ้านได้อย่างเราๆ ได้เข้าใจ ทุกวันนี้มีบุคคลพลัดถิ่นจากเหตุความไม่สงบในพิ้นที่ต่างๆ ...
3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ทุกวันนี้เหตุความไม่สงบในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกพลักดันให้ประชากรหลายพันครัวเรือนต้องอพยพหนีความวุ่นวายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ปัจจุบันมีชาวคองโกจำนวนมากอาศัยอยู่ในเมือง Lunda Norte ในประเทศแองโกล่า หลายครอบครัวไม่มีโอกาสกล่าวคำอำลา และไม่รู้เลยว่าครอบครัวของตนยังมีชีวิตอยู่หรือไม่  ไม่นานมานี้ ICRC และกาชาดแองโกล่าได้เริ่มปฎิบัติการพิเศษในค่ายลี้ภัยเพื่อให้ผู้อพยพได้มีโอกาสติดต่อกับสมาชิกครอบครัวที่ประเทศคองโกอีกครั้ง ‘เวลาเพียงแค่ไม่กี่นาทีสามารถสร้างรอยยิ้มให้ใครหลายคนได้อีกหลายวัน เพราะวินาทีนั้นพวกเขาได้รู้ว่าคนที่ตนรักยังมีชีวิตอยู่’ นี่เป็นครั้งแรกที่ Maria Nganza ...
‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ที่หมู่บ้านห่างไกลในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา หญิงสาวท่านหนึ่งกำลังตักน้ำขึ้นรดบนศรีษะของหญิงชรา พิธีนี้เรียกว่า Srong Peah เป็นการแสดงความนอบน้อมต่อบิดามารดา และขอขมาลาโทษในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกิน   ดูด้วยตา พิธีที่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่หากฟังด้วยใจ เรื่องราวเบื่องหลังภาพนี้มีที่มาชวนน้ำตาไหลที่ต้องย้อนกลับไปไกลกว่า 40 ปี ‘พี่น้องของฉันมีโอกาสทำพิธีนี้ได้ทุกวัน ...