ความขัดแย้ง

“เรามีเวลามากพอหยิบสิ่งของไม่กี่อย่าง เสื้อผ้าสองสามชุด เอกสารที่จำเป็น และทรัมเป็ตของผม”

“เรามีเวลามากพอหยิบสิ่งของไม่กี่อย่าง เสื้อผ้าสองสามชุด เอกสารที่จำเป็น และทรัมเป็ตของผม”

, บทความ / บล็อค

Vahagn เด็กหนุ่มวัย 16 เล่าถึงเหตุการณ์ในวันที่เขาต้องจากบ้านโดยไม่มีโอกาสกลับมาอีก ความขัดแย้งที่เพิ่มขึ้นในภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัค ของอาเซอร์ไบจาน ผลักให้ครอบครัวของ Vagagn ต้องลี้ภัยออกจากบ้านเกิด พวกเขาหยิบสิ่งของสำคัญเท่าที่ทำได้ ย้ายมาเริ่มชีวิตใหม่ในเยอร์เวน เมืองหลวงของประเทศอาร์มาเนีย การทิ้งทุกอย่างเพื่อก้าวไปข้างหน้าไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ความรักในดนตรีของ Vahagn ช่วยให้เขาก้าวผ่านช่วงเวลาเลวร้ายได้อย่างน่าประทับใจ “ผมหลงรักดนตรีตั้งแต่เด็ก หลังจากได้ยินคุณปู่เป่า shvi (เครื่องดนตรีท้องถิ่นของอาร์มาเนีย ลักษณะคล้ายขลุ่ย) ผมก็รู้สึกประทับใจมากและตัดสินใจว่าจะต้องเป็นนักดนตรีให้ได้” ตอน ...
‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วาเดียเนีย หมู่บ้านเล็กๆ ทางตอนใต้ของยูเครนเคยเป็นสถานที่ที่ใครหลายคนเรียกว่าบ้าน จากประชากรกว่า 300 ครอบครัว ปัจจุบันวาเดียเนียมีสมาชิกเหลือเพียง 13 คนเท่านั้น ย้อนไปหลายปีก่อนหน้า หมู่บ้านที่เงียบสงบเคยเป็นจุดหมายปลายทางของชาวเมืองที่อยากหนีความวุ่นวายช่วงปลายสัปดาห์ มาหาธรรมชาติและบรรยากาศเรียบง่ายของโรงนา พื้นหญ้า และฝูงปศุสัตว์ ด้วยความที่วาเดียเนียอยู่ห่างจากเมืองใหญ่อย่างมาริอูปอลที่มีประชากรเกือบครึ่งล้านเพียง ...
หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น เบื่องหลังภาพถ่ายและความทรงจำมากมายที่ต่างไป ผู้คนเหล่านี้มีหนึ่งเป้าหมายที่เหมือนกัน ‘พวกเขาพร้อมที่จะสร้างชีวิตขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ตราบเท่าที่ยังมีลมหายใจ’ ในปี ...
The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วิศวกรรมกับมนุษยธรรมอาจฟังดูไม่เข้ากันเท่าไหร่ หลายคนอาจไม่รู้แต่ที่ #ICRC เรามีหน่วยงานด้านเทคนิคที่มีชื่อเรียกชวนฉงนว่า WATHAB … เจ้า #WATHAB คืออะไร ทำอะไรได้บ้าง? มาฟังเรื่องเรื่องราวของพี่โจ – ธันวิชช์ มหัทธนาสิงห์ วิศวกรของ ICRC และการสร้างสรรค์สิ่งที่ (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมแต่ทำให้คนมีความสุข ...
การใช้โซเชียลมีเดียกับงานด้านมนุษยธรรม

การใช้โซเชียลมีเดียกับงานด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานเพื่อการประสานงานด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ UNOCHA คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ICRC และสหพันธ์กาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ IFRC จึงได้จัดทำ คู่มือในการใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยเหลือผู้คนที่ได้รับผลกระทบในภาวะวิกฤต โดยคู่มือฉบับนี้มุ่งเน้นไปที่กลุ่มพนักงานที่รับผิดชอบดูแลช่องทางโซเชียลมีเดียให้กับองค์กรที่ทำงานด้านมนุษยธรรม “ทุกวันนี้มีผู้คนมากกว่า 3 พันล้านคนที่ใช้โซเชียลมีเดียในการติดต่อสื่อสาร ในจำนวนนี้หมายรวมถึงบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติและภัยจากการสู้รบ นับวันจำนวนของผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตในรูปแบบต่างๆได้ใช้ช่องทางเหล่านี้ในการค้นหาและแบ่งปันข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น” ชาร์ล็อตต์ ลินซี่ย์ เคอร์เล็ต ผู้อำนวยการด้านการสื่อสารและข้อมูลของ ICRC กล่าว “หากเราต้องการได้ข้อมูลและปรับการรับรู้ เราก็จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาการสื่อสารออนไลน์มากขึ้น” ไม่ว่าจะเป็นช่วงที่เกิดเฮอร์ริเคนพัดถล่มสหรัฐฯและแถบทะเลแคริบเบียนหรือวิกฤตการอพยพลี้ภัยทั่วโลก ...
ICRC ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนในเมียนมาร์และบังคลาเทศ

ICRC ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนในเมียนมาร์และบังคลาเทศ

, News / บล็อค / ไทย

เจนีวา/เมียนมาร์/บังคลาเทศ-คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ยกระดับความช่วยเหลือประชาชนที่หนีภัยความรุนแรงในเมียนมาร์และบังคลาเทศ “ชุมชนทุกแห่งที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงกำลังเผชิญกับความยากลำบากซึ่ง ICRC มีความเป็นห่วงต่อสถานการณ์ดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะครอบครัวที่ได้รับผลกระทบโดยตรง” บอริส มิเชล ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคกล่าว ICRC ได้ขนส่งอาหารและน้ำดื่มสะอาดไปแจกจ่ายให้กับประชาชนกว่า 8 พันครัวเรือนตลอดแนวชายแดนเมียนมาร์และบังคลาเทศที่อพยพหนีภัยความรุนแรงในพื้นที่ตลอดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาและ ICRC ยังได้สนับสนุนการทำงานของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่และเจ้าหน้าที่การแพทย์ของบังคลาเทศในพื้นที่อีกด้วย ทั้งนี้ ICRC ได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับสภากาชาดเมียนมาร์ (Myanmar Red ...
สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

สร้างทักษะผู้ปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality)

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

จากปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งทางทหารทั่วโลก พร้อมได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพถึง 3 ครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี เป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นที่เคารพมากที่สุดในโลก เมื่อเร็วๆ นี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศได้กลายเป็นองค์กรด้านมนุษยธรรมแห่งแรกของโลกที่ใช้เทคโนโลยีวิดีโอเกมส์ในการปฏิบัติงานภายในอีกด้วย “คุณอาจพูดได้ว่าเราเป็นบริษัทเกมส์เล็กๆ” คริสเตียน รูแฟร์ หัวหน้าแผนก ...
เครื่องหมายกาชาด สัญลักษณ์แห่งความหวัง

เครื่องหมายกาชาด สัญลักษณ์แห่งความหวัง

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

สำหรับบุคลากรในครอบครัวกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงแล้ว การมีความรู้ความเข้าใจในหลักการกาชาดและการใช้เครื่องหมายกาชาดอย่างลึกซึ้งและถูกต้องเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง สภากาชาดไทยจึงได้จัดการประชุมเผยแพร่ความรู้ในหัวข้อ “การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการกาชาดและการใช้เครื่องหมายกาชาดให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการบริการทางการแพทย์และด้านการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย” ให้กับเจ้าหน้าที่ที่ทำงานอยู่ในกลุ่มองค์กรกาชาดจากหน่วยงานต่างๆของสภากาชาดไทย องค์กร และ โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนกว่า 100 คน โดยการประชุมครั้งนี้จัดขึ้นที่อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมาฌโดยมีตัวแทนจากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ...
ไอซีอาร์ซีจับมือสภากาชาดไทยเผยแพร่กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศให้กับวิทยากรยุวกาชาด

ไอซีอาร์ซีจับมือสภากาชาดไทยเผยแพร่กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศให้กับวิทยากรยุวกาชาด

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี ร่วมกับ สำนักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย จัดการอบรมวิทยากรยุวกาชาดในหัวข้อเรื่อง การกาชาดและกฏหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ หรือ IHL โดยการประชุมในครั้งนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-25 มิถุนายน 2558 ที่โรงแรมใบหยกสกาย ...
เด็กๆท่ามกลางภาวะสงคราม

เด็กๆท่ามกลางภาวะสงคราม

, บทความ / บล็อค

แม้ว่าโดยธรรมชาติแล้วบรรดาเด็ก ๆ จะมีความเข้มแข็งและความสามารถในการปรับตัวเพียงใดก็ตาม ในภาวะแห่งสงคราม เด็ก ๆ นั้นมักจะตกเป็นเหยื่อ และเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อภัยหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น การได้รับบาดเจ็บ การถูกทารุณกรรม การถูกลักพาตัว ถูกบังคับให้เป็นทหาร หรือแม้กระทั่งถูกข่มขืนหรือถูกสังหาร  นอกจากนี้ เด็ก ๆ ในภาวะสงครามยังต้องตกอยู่ในภาวะขาดอาหาร น้ำ และที่พักอาศัย รวมทั้งต้องพลัดพรากจากครอบครัว และกลายเป็นเด็กกำพร้า การให้ความคุ้มครอง ...