กลุ่มองค์กรกาชาด

นายกรัฐมนตรีเอธิโอเปียประกาศบริหารประเทศจากสนามรบในขณะที่สถานการณ์ด้านมนุษยธรรมเข้าขั้นวิกฤต

นายกรัฐมนตรีเอธิโอเปียประกาศบริหารประเทศจากสนามรบในขณะที่สถานการณ์ด้านมนุษยธรรมเข้าขั้นวิกฤต

, บทความ / บล็อค

นายกรัฐมนตรีเอบีย์ อาเหม็ดประกาศเมื่อวานนี้ (24 พฤศจิกายน 2021) จะเข้าร่วมการรบกับแนวหน้าในขณะที่กองกำลังฝ่ายต่อต้านจากทีเกรย์บุกถึงเมืองเชวา โรบิต เมืองใหญบนเส้นทางหลักห่างจากเมืองหลวงเพียง 200 กิโลเมตร ความขัดแย้งในเอธิโอเปียระหว่างรัฐบาลกลาง และกองกำลังในภูมิภาคทีเกรย์ ทางตอนเหนือของประเทศ ทำให้ประชากรนับแสนคนต้องอพยพออกจากบ้าน ผู้คนหลายพันเดินทางจากเมืองหนึ่งสู่อีกเมืองในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัว พวกเขาต้องอาศัยในค่ายลี้ภัยที่แออัด เด็กๆ ไม่ได้เรียนหนังสือ ขาดแคลนทั้งน้ำและอาหาร “เราทำงานแข่งกับเวลาเพื่อส่งมอบความต้องการด้านมนุษยธรรมให้กับประชากรที่ยากลำบาก” นิโคลัส ฟอน อาร์ค ...
กาชาดสากลเรียกร้องให้ความช่วยเหลือเร่งด่วนแก่ผู้อพยพแนวชายแดนเบลารุส โปแลนด์ ลิธัวเนีย

กาชาดสากลเรียกร้องให้ความช่วยเหลือเร่งด่วนแก่ผู้อพยพแนวชายแดนเบลารุส โปแลนด์ ลิธัวเนีย

, News / ไทย

ข่าวประชาสัมพันธ์ 19 พฤศจิกายน 2021 กาชาดสากลเรียกร้องให้ความช่วยเหลือเร่งด่วนแก่ผู้อพยพแนวชายแดนเบลารุส โปแลนด์ ลิธัวเนีย สหพันธ์กาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies – IFRC) และ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee ...
กาชาดสากล ช่วยนักเรียนผู้พิการในกัมพูชาเข้าถึงการศึกษาในสถานการณ์โควิด-19

กาชาดสากล ช่วยนักเรียนผู้พิการในกัมพูชาเข้าถึงการศึกษาในสถานการณ์โควิด-19

, News / ไทย

ข่าวประชาสัมพันธ์ 19 ตุลาคม 2021 กาชาดสากล ช่วยนักเรียนผู้พิการในกัมพูชาเข้าถึงการศึกษาในสถานการณ์โควิด-19 กัมพูชา – วันที่ 19 ตุลาคม 2021 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross – ICRC) ...
เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เมื่อวันที่  16-18 ธันวาคมที่ผ่านมา แผนกสุขภาพของ ICRC ได้ร่วมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะทำงานอันประกอบไปด้วย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์ และกรมพินิจและคุ้มครองเยาวชน จัดอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองเป็นอย่างไรในสถานการณ์โควิด? คุยกับสามตัวแทนประเทศไทยผู้คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งได้เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์

การแข่งขันว่าความศาลจำลองเป็นอย่างไรในสถานการณ์โควิด? คุยกับสามตัวแทนประเทศไทยผู้คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งได้เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์

, บทความ / บล็อค

“โล่ปกป้องผู้คนในยามสงคราม”, “ช่วยเหลือผู้ที่ต้องการในช่วงเวลาที่จำเป็นมากที่สุด”, “กฏขั้นต่ำที่ทำให้รู้ว่าแม้ในยามยากลำบาก มนุษยชาติยังได้รับการปกป้อง” หลากหลายคำจำกัดความที่เราอาจนึกเมื่อพูดถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า IHL) ทุกปี ICRC จัดการแข่งขันว่าความศาลจำลอง เพื่อมองหาตัวแทนประเทศไทยเข้าทำการแข่งขันในระดับเอเชีย-แปซิฟิก กฎหมายที่อาจฟังดูไกลตัว ได้รับการตีความและนำมาถกเถียงกันผ่านมุมมองของคนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นตัวแทนนักเรียนกฎหมายจากนานาชาติ ในการแข่งขันประจำปี  2020 ที่เพิ่งผ่านมา แม้จะประสบความยากลำบากจากสถานการณ์โควิด-19 แต่ตัวแทนประเทศไทยก็ทำผลงานได้น่าประทับใจ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่สามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

, บทความ / บล็อค

เส้นทางสู่การ ‘ร่วมพลังกับการดำเนินงานด้านมนุษยธรรม‘ เมื่อมีการหยิบยกข้อโต้แย้งขึ้นมาว่า เราจะต้องคำนึงถึงศาสนา เพศ เชื้อชาติ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ของผู้ได้รับผลกระทบเพื่อให้เราปรับเปลี่ยนการดำเนินการด้านมนุษยธรรมหรือไม่ คำตอบที่พบบ่อยสุดคือ วิธีการดังกล่าวนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อหลักการด้านมนุษยธรรม ยกตัวอย่างเช่น เมื่อพูดถึงเรื่องความไม่ลำเอียง (impartiality) การวิเคราะห์เช่นนี้ได้แยกให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติบนฐานของเชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกันและไม่ควรเหมือนกันอย่างไร ไม่ใช่แค่การมองเห็นเรื่องของ ‘เชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...
กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

กลุ่มองค์กรกาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ระดมทุนจำนวน 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในการต่อสู้กับ COVID-19

, News / กลุ่มองค์กรกาชาด / บล็อค / ไทย

เจนีวา-กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ประกาศระดมทุนฉุกเฉินจำนวน 800 ล้านสวิสฟรังก์ หรือประมาณ 26,400 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบางให้สามารถยับยั้งและฟื้นฟูเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) แม้ว่าเชื้อไวรัส COVID-19 จะแพร่ระบาดไปทั่วโลกแล้วก็ตาม แต่การช่วยให้ผู้คนเข้าถึงทรัพยากรที่จำเป็นจะสามารถช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อและลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้นอยลง ฟรานเซสโก ร็อกกา ...
สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เปิดเผยรายงานการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นมิลเลนเนียล 16000 คน ใน 16 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อสงครามและการสู้รบ โดยกลุ่มคนที่ทำการสอบถามมีอายุระหว่าง 20-35 ปี อาศัยอยู่ในประเทศที่มีและไม่มีสงคราม คือ อัฟกานิสถาน โคลัมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย อิสราเอล มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ปาเลสไตน์ รัสเซีย ...
สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

สองความจริงกับหนึ่งความเท็จ: เจ็ดสิบปีแห่งอนุสัญญาเจนีวา

, บทความ / บล็อค

เนื่องในวาระครบรอบอนุสัญญาเจนีวา บรรดาผู้ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านมนุษยธรรมและผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายได้ใช้โอกาสนี้สะท้อนบทเรียนที่ได้รับจากสนธิสัญญาทั้งสี่ฉบับที่ได้รับการให้สัตยาบันอย่างเป็นสากลและเป็นที่ยอมรับตลอดระยะเวลาเจ็ดทศวรรษแห่งสงคราม บทความนี้ต่อยอดมาจากการศึกษาด้านอภิปรัชญา (metaphysical) ของ Helen Durham เกี่ยวกับข้อท้าทายทั้งในอดีตและปัจจุบันที่กฎหมายมนุษยธรรมกำลังเผชิญอยู่ บทความนี้จึงได้ทำการสำรวจและแสดงเหตุผลหักล้างข้อกล่าวอ้างที่มักจะถูกนำมาใช้อยู่เสมอ ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นนักวิชาการและมีส่วนผลักดันกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างเปิดเผย ข้าพเจ้าได้สังเกตเห็นปัญหาของวาทกรรมที่ใช้กล่าวถึงอนุสัญญาเจนีวา เนื้อความสำคัญของวาทกรรมดังกล่าวคือ “ข้าพเจ้าเห็นแต่ความรุนแรงและความวุ่นวายเกิดขึ้นบนโลก การเผยแพร่บทกฎหมายเป็นสิ่งที่ดีอยู่ก็จริง แต่บทบัญญัติดังกล่าวถูกยกร่างขึ้นในยุคสมัยที่โฉมหน้าของสงครามนั้นแตกต่างออกไป แล้วทหารที่สู้รบในแนวรบจะเข้าใจกฎหมายสงครามหรือไม่ ทั้งนี้มิต้องกล่าวถึงการปฏิบัติตามกฎหมายเช่นว่า” ข้าพเจ้าจะไม่ยอมคล้อยตามข้อกังขานี้ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ไม่ได้มีเฉพาะการกระทำอันโหดร้ายทารุณในเขตที่เกิดความขัดแย้ง ดังที่รายงานบนหน้าหนังสือพิมพ์  เพื่อค้นหาความจริงข้าพเจ้าจึงนำข้อกล่าวอ้างสามประการมาตรวจสอบด้วยพยานหลักฐานที่คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ...