กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประะเทศ

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม  (Part 1)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 1)

, บทความ / บล็อค

หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรม จอร์จ ฟลอยด์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงการประท้วงที่ลุกลามไปเกือบทุกหนแห่งทั่วโลก ทำให้เราได้เผชิญหน้ากันเพื่อทบทวนและใคร่ครวญถึงประเด็นเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นที่ควรได้รับการจัดการมานานแล้ว และตอนนี้เราก็อยู่ในขั้นตอนที่สถาบันต่าง ๆ กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน หลังได้รับฟังประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อไปสู่การตัดสินใจว่า ทางสถาบันจะทำอย่างไรต่อสาธารณชนในการต่อสู้กับการเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียมของระบบ แต่การดำเนินการอย่างเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาตินั้นหมายถึงอะไร? แล้วข้อกำหนดเหล่านี้นำไปใช้กับการดำเนินการด้านมนุษยธรรมได้อย่างไรบ้าง? ในโพสต์นี้ ซามาน เรจาลี บรรณาธิการด้านเนื้อหาของ International Review of the ...
IHL Moot Court and Role Play Competition 2020

IHL Moot Court and Role Play Competition 2020

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดการ แข่งขัน IHL Moot Court and Role Play Competition 2020 รอบภาษาอังกฤษ ในวันเสาร์ที่ 10 และ วันอาทิตย์ที่ 11 ตุลาคม 2020 ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตท่าพระจันทร์ ...
ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

75 ปี ผ่านไปหลังระเบิดปรมาณูลูกแรกถูกใช้เพื่อถล่มเมืองฮิโรชิมะจนราบเป็นหน้ากลอง ทุกวันนี้ผลกระทบของระเบิดยังคงเป็นที่พูดถึง ความกลัวต่อสงครามนิวเคลียร์ที่อาจเกิดขึ้นยังคงติดอยู่ในใจและไม่ว่าสงครามเย็นจะจบไปกว่า 20 ปี กำแพงเบอร์ลิน – สัญลักษณ์ของการต่อสู้ระหว่างสองขั้วอำนาจถูกทำลาย ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ถึงอย่างนั้น โลกหลังสงครามนิวเคลียร์และผลกระทบอันเลวร้ายหากอาวุธที่ว่าถูกนำมาใช้ ยังคงได้รับการเล่าขานและตีความต่อไปผ่านแผ่นฟิล์ม วันนี้เราได้ลองรวมรวมภาพยนต์ที่เล่าถึงหายนะของโลกหลังสงครามนิวเคลียร์ การตีความของผู้กำกับแต่ละท่านอาจให้ภาพต่างกันไป แต่สิ่งที่ทุกท่านเห็นร่วมกัน คือวันโลกาวินาศคงมาถึงในทันทีหากมีการใช้ระเบิดที่ว่าระเบิดในสักวัน Dr. Strangelove or: How ...
เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...
กฎหมายระหว่างประเทศให้การคุ้มครองป้องกันมากเพียงใด ต่อการโจมตีไซเบอร์ระบบโรงพยาบาลและการระบาดใหญ่ของ

กฎหมายระหว่างประเทศให้การคุ้มครองป้องกันมากเพียงใด ต่อการโจมตีไซเบอร์ระบบโรงพยาบาลและการระบาดใหญ่ของ

, บทความ / บล็อค

หมายเหตุบรรณาธิการ – มุมมองของผู้แต่งที่แสดงออกในบล็อกนี้เป็นมุมมองของผู้แต่งและไม่ได้สะท้อนว่าเป็นมุมมองของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศแต่อย่างใด โรงพยาบาลขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเมืองเบอร์โน (Brno) ซึ่งเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของสาธารณรัฐเช็ก ถูกโจมตีทางไซเบอร์เมื่อวันที่ 13 มีนาคมที่ผ่านมา โดยข้อมูลจากฝ่ายบริหารของโรงพยาบาลระบุว่า การโจมตีดังกล่าวทำให้เจ้าหน้าที่ต้องเลื่อนการผ่าตัดเร่งด่วนออกไปและต้องมีการเปลี่ยนเส้นทางการรักษาผู้ป่วยเฉียบพลันรายใหม่ๆ ไปยังโรงพยาบาลแห่งอื่น ตลอดจนลดกิจกรรมอื่น ๆ ภายในโรงพยาบาลลงด้วย โรงพยาบาลประจำเมืองแห่งนี้มีหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบหาติดเชื้อไวรัสโคโรนา (coronavirus) และการต้องหยุดชะงักลงดังกล่าวทำให้กระบวนการตรวจสอบล่าช้าไปหลายวัน ซึ่งนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ก็มีการรายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์โจมตีทางไซเบอร์ที่มีภาคสาธารณสุข/การดูแลสุขภาพเป็นเป้าหมายในหลายประเทศด้วยเช่นกัน เช่นที่ประเทศฝรั่งเศส สเปน ไทย ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...
กักตัววันนี้มีหนังดูหรือยัง? 10 หนังน่าสนใจที่ช่วยให้เราเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรมผ่านเรื่องเล่าบนแผ่นฟิล์ม

กักตัววันนี้มีหนังดูหรือยัง? 10 หนังน่าสนใจที่ช่วยให้เราเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรมผ่านเรื่องเล่าบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

ไม่ว่าจะย้อนไปไกลหลายร้อยปี หรือเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นหมาดๆ สงครามและความขัดแย้งก็เป็นสิ่งที่อยู่เคียงคู่มนุษยชาติมาหลายยุคหลายสมัย ทราบหรือไม่ว่า หนังเกี่ยวกับสงครามเรื่องแรกที่ถูกผลิตออกฉาย เป็นหนังโฆษณาชวนเชื่อความยาวเพียง  90 วินาที ผลิตโดยบริษัท Vitagraph เรื่อง Tearing Down the Spanish Flag (1898)  ซึ่งปรากฎว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะเป็นช่วงที่สหรัฐอเมริกา กำลังทำสงครามกับสเปนอยู่พอดี  (Spanish-American War – Apr 21, ...
ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

, บทความ / บล็อค

การระบาดหนักของโรคโควิด-19 สร้างความตื่นตระหนกให้ผู้คนทั่วโลก จะเป็นอย่างไรถ้าโรคร้ายย่างกรายเข้าสู่เรือนจำ ? Elena Leclerc ผู้ประสานงานด้านสุขภาพเรือนจำของ ICRC เล่าให้เราฟังถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นหากโควิด-19 ระบาดเข้าสู่เรือนจำ สภาพแออัดประกอบกับระบบสาธารณสุขที่อาจไม่เพียงพอ คุณหมอ Elena มีความคิดเห็นอย่างไรกับสถานการณ์ในเรือนจำกว่า 50 ประเทศ ที่ ICRC ให้การสนับสนุน Q: ทำไมประชากรในเรือนจำถึงเป็นกลุ่มเสี่ยงสำหรับโควิด-19 A: ผู้คนในสถานที่คุมขังมักมีภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปราะบาง ...
*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

, บทความ / บล็อค

เมื่อพูดถึงหนังสงครามหลังศตวรรษที่ 20 ไม่ต้องสงสัยว่าสงครามโลกครั้งที่ 2 คือเหตุการณ์ที่ถูกนำมาเล่าซ้ำบ่อยที่สุด ไม่บ่อยนักที่ภาพลักษณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1 ถูกจับมาเป็นประเด็นในหนังเรื่องเด่นที่กลายเป็นกระแสไปทั่วโลก 1917 ของผู้กำกับ แซม เมนเดส บอกเล่าความสิ้นหวังของการรบในสนามเพลา ผ่านการต่อสู้ที่ดูเหมือนจะไร้ความหมาย และความไม่รู้ของสองตัวละครหนุ่มที่ได้รับหน้าที่สำคัญ นำจดหมายไปส่งเพื่อยกเลิกปฎิบัติการที่อาจนำมาซึ่งความตายของทหารอีกหลายพัน หลายคนตั้งข้อสงสัย ถ้าเรื่องนี้เกิดในปัจจุบัน หนังคงจบตั้งแต่ 5 นาที เพราะมีโซเชียลมีเดียและวิธีติดต่อสื่อสารมากมาย แต่ถ้าว่ากันด้วยกฎหมาย ...
สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เปิดเผยรายงานการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นมิลเลนเนียล 16000 คน ใน 16 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อสงครามและการสู้รบ โดยกลุ่มคนที่ทำการสอบถามมีอายุระหว่าง 20-35 ปี อาศัยอยู่ในประเทศที่มีและไม่มีสงคราม คือ อัฟกานิสถาน โคลัมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย อิสราเอล มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ปาเลสไตน์ รัสเซีย ...