กาชาดระหว่างประเทศ

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

, บทความ / บล็อค

“Taking the law out of the books” คือประโยคสั้นๆ อธิบายการแข่งขันด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศของ ICRC ที่เรียกกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Jean-Pictet Competition งานที่ว่าจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นเวทีสำหรับนักเรียนกฎหมายรุ่นใหม่ ให้ได้ลองใช้ความรู้ด้านกฎหมาย ในการว่าความร่วมกับผู้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ สิริกมล สุรทิณฑ์ (แป้ง), สาริสา ทีฆตระกูล (แอ๊นท์) และ ...
คุณแม่ผู้ท้าทายความกลัวในทุกๆ วัน

คุณแม่ผู้ท้าทายความกลัวในทุกๆ วัน

, บทความ

การดูแลลูกสาว 3 คนในรัฐคะฉิ่นตามลำพังอาจมากพอจะทำให้ Aye Aye Win กลายเป็นฮีโร่ สิ่งที่ทำให้คุณแม่เลี้ยงเดี่ยวคนนี้พิเศษยิ่งกว่าคือ Aye Aye Win เป็นผู้พิการที่เสียขาขวาเพราะกับระเบิด แม้ร่างกายจะพิการ แต่ Aye Aye Win ไม่เคยหมดศรัทธาในชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเธอยังมีลูกน้อยทั้งสามคอยให้กำลังใจ “ฉันไม่เคยโทษใครในเรื่องที่เกิดขึ้น” เธอกล่าว แต่เธอจำได้เสมอว่าอะไรเกิดขึ้นในวันนั้น ...
ICRC ประณามการฆาตกรรมพยาบาลผดุงครรภ์ และเรียกร้องให้ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวขณะออกปฎิบัติงานในประเทศไนจีเรีย

ICRC ประณามการฆาตกรรมพยาบาลผดุงครรภ์ และเรียกร้องให้ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวขณะออกปฎิบัติงานในประเทศไนจีเรีย

, บทความ / บล็อค

เจนีวา/อาบูจา (ICRC) – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ขอประณามการฆาตกรรม Saifura Hussaini Ahmed Khorsa พยาบาลผดุงครรภ์และเพื่อนร่วมงานคนสำคัญของเรา พร้อมเรียกร้องให้กลุ่มติดอาวุธ ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวไประหว่างออกปฎิบัติหน้าที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไนจีเรีย เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ‘เรารู้สึกเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับ Saifura’ Eloi Fillion ผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานอาบูจา กล่าวแสดงความเสียใจ ‘Saifura ...
‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วาเดียเนีย หมู่บ้านเล็กๆ ทางตอนใต้ของยูเครนเคยเป็นสถานที่ที่ใครหลายคนเรียกว่าบ้าน จากประชากรกว่า 300 ครอบครัว ปัจจุบันวาเดียเนียมีสมาชิกเหลือเพียง 13 คนเท่านั้น ย้อนไปหลายปีก่อนหน้า หมู่บ้านที่เงียบสงบเคยเป็นจุดหมายปลายทางของชาวเมืองที่อยากหนีความวุ่นวายช่วงปลายสัปดาห์ มาหาธรรมชาติและบรรยากาศเรียบง่ายของโรงนา พื้นหญ้า และฝูงปศุสัตว์ ด้วยความที่วาเดียเนียอยู่ห่างจากเมืองใหญ่อย่างมาริอูปอลที่มีประชากรเกือบครึ่งล้านเพียง ...
‘สถานะ’ และ ‘การคุ้มครอง’ : องค์กรมนุษยธรรมมองเรื่อง ‘ผู้ลี้ภัย’ ไว้อย่างไร

‘สถานะ’ และ ‘การคุ้มครอง’ : องค์กรมนุษยธรรมมองเรื่อง ‘ผู้ลี้ภัย’ ไว้อย่างไร

, บทความ / บล็อค

การเดินทางจากบ้านมีได้หลายเหตุผล การที่ใครสักคนจะได้รับการต้อนรับหรือดูแลมากแค่ไหน บางครั้งก็ขึ้นอยู่กับเหตุผลของการเดินทาง ที่จะบอกว่าผู้อพยพท่านนี้ควรได้รับสถานะ (status) หรือ การคุ้มครอง (protection) แบบใด แต่ไม่ว่าจะหลบหนีจากสงครามหรือเดินทางหางานสร้างอนาคต ไม่ว่าจะถูกบังคับให้เคลื่อนย้ายหรือเต็มใจออกจากบ้าน สิ่งที่ผู้คนเหล่านี้ต้องเผชิญไม่ต่างกัน คืออุปสรรค์ที่มักเกิดขึ้นระหว่างทาง นายปีเตอร์ เมาเรอร์ ประธานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) กล่าวถึงประสบการณ์ความยากลำบากที่ผู้คนเหล่านี้ต้องเผชิญไว้ว่า: ‘เมื่อตัดสินใจออกเดินทาง ผู้อพยพและประชากรพลัดถิ่นต้องเผชิญโจทย์ยากตั้งแต่ก้าวแรก บนเส้นทางมีความไม่แน่นอน หลายชีวิตไม่สามารถไปถึงจุดหมายได้อย่างปลอดภัย หรือต่อให้ไปถึง ...
ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) เรียกร้องให้บรรดารัฐ ผู้นำและประชากรโลก ร่วมมือกันป้องปรามการใช้อาวุธนิวเคลียร์ มิฉะนั้นมนุษยชาติอาจต้องเผชิญมหันตภัยจากอาวุธนิวเคลียร์ที่เกินเยียวยาก็เป็นได้ เมื่อพิจารณาถึงอานุภาพที่ร้ายแรงของอาวุธนิวเคลียร์แล้ว ทางออกที่ดีที่สุดในเวลานี้คือการดำเนินการในเชิงป้องกันจนกว่าจะมั่นใจได้ว่าอาวุธนิวเคลียร์จะไม่ถูกนำมาใช้อีกต่อไป เพื่อหลีกเลี่ยงหายนะจากอาวุธนิวเคลียร์ รัฐทั้งหลายต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน ดังนี้ รัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์ในความครอบครองรวมถึงรัฐที่เป็นพันธมิตรต้องหาหนทางเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาวุธนิวเคลียร์จะถูกนำมาใช้ พร้อมทั้งให้ประชาคมโลกร่วมเป็นผู้สอดส่องปฏิบัติการดังกล่าว รัฐที่เป็นภาคีสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ) Treaty on ...
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในปี 1982 สงครามระหว่างอาร์เจนตินาและสหราชอาณาจักรสร้างบาดแผลให้หลายครอบครัว สงครามเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 1982 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์-อาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้น ฝ่ายอาร์เจนตินาอ้างว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ สงครามที่ว่าสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ...
ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

การดูแลฝูงปศุสัตว์ให้มีสุขภาพดีช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ในประเทศที่มีความขัดแย้ง คุณต้องเตรีมพร้อมที่จะอพยพตลอดเวลา การเลี้ยงสัตว์ตอบโจทย์ข้อจำกัดที่ว่า เพราะมีความคล่องตัวสูงกว่าไม่เหมือนการทำเกษตรกรรม”  Ada Jacobsen ผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์ของ ICRC กล่าวระหว่างการจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้ฝูงสัตว์ในหุบเขา Maura Hills “ถ้าไม่มีปศุสัตว์เป็นของตัวเอง ก็เหมือนคุณไม่ใช่ชาวซูดานใต้ ” ...
หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น เบื่องหลังภาพถ่ายและความทรงจำมากมายที่ต่างไป ผู้คนเหล่านี้มีหนึ่งเป้าหมายที่เหมือนกัน ‘พวกเขาพร้อมที่จะสร้างชีวิตขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ตราบเท่าที่ยังมีลมหายใจ’ ในปี ...
ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

สถานการณ์สู้รบภาคพื้นดินในเยเมนตึงเครียดอีกครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เรียกร้องให้กองกำลังทุกกลุ่มหลีกเลี่ยงการโจมตีเมืองโบราณราเบ็ล (Zabid) เมืองมรดกโลกที่เก่าแก่ที่สุดในเยเมน ความวุ่นวายในสงครามกลางเมืองเยเมนไม่เพียงเป็นอันตรายต่อพลเมืองแต่ยังทำให้สถาปัตยกรรมทรงคุณค่าอยู่ในภาวะเสี่ยง ราเบ็ลเป็นเมืองหลวงเก่าและเป็นเมืองสำคัญในวัฒนธรรมอิสลามที่มีอายุย้อนหลังไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 13-15 มหาวิทยาลัยราเบ็ล ถือเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในหมู่ประเทศอาหรับและมุสลิม เป็นศูนย์กลางทางการวิจัยและเป็นภาพลักษณ์ขององค์ความรู้อิสลามที่ไม่อาจประเมินค่าได้ ภายในเมืองยังมีกลุ่มอาคารอีกมากมาย ทั้งบ้าน มัสยิด ...