เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ผมไม่เคยเห็นคนเจ็บมากขนาดนี้มาก่อน

ผมไม่เคยเห็นคนเจ็บมากขนาดนี้มาก่อน

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เริ่มจากผู้บาดเจ็บหนึ่งคน จากนั้นเพิ่มเป็นสอง แปด สิบหก ในเวลาไม่นานโรงพยาบาลก็เต็มไปด้วยเสียงร้องระงมในไม่ถึงหนึ่งชั่วโมง ผมอยู่ในทีมแพทย์ภาคสนามของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ประจำการอยู่ที่โรงพยาบาล Gaza European Hospital ในเมือง Khan Younis ของกาซ่า ...
เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

เมียนมา: ความวุ่นวายในรัฐคะฉิ่นกับหลายชีวิตที่ต้องจากบ้าน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ประชาชนในรัฐคะฉิ่นประเทศเมียนมา มีชีวิตอยู่ท่ามกลางความขัดแย้งที่ยืดเยื้อมานานตั้งแต่ปี 2011 เมื่อความรุนแรงปะทุขึ้นอีกครั้งในเดือนเมษายนที่ผ่านมา ประชาชนกว่า 6,800 คน ต้องอพยพออกจากที่อยู่อาศัย ตัวเลขนี้ยังไม่นับไปถึงประชากรอีกราว 100,000 ที่กลายเป็นผู้พลัดถิ่นมาแล้วหลายปีก่อนหน้า สถาณการณ์ในเดือนล่าสุด(เมษายน) ผู้คนมากมายต้องเดินเท้าจากพื้นที่เสี่ยงเป็นระยะทางหลายกิโลเมตรเพื่อมายังสถานที่ตั้งค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในโบสถ์นอกเมือง Myit Kyi ...
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในปี 1982 สงครามระหว่างอาร์เจนตินาและสหราชอาณาจักรสร้างบาดแผลให้หลายครอบครัว สงครามเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 1982 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์-อาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้น ฝ่ายอาร์เจนตินาอ้างว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ สงครามที่ว่าสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ...
ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

ซูดานใต้: เมื่อฝูงสัตว์มีค่ากว่าเงินทอง

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

การดูแลฝูงปศุสัตว์ให้มีสุขภาพดีช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ในประเทศที่มีความขัดแย้ง คุณต้องเตรีมพร้อมที่จะอพยพตลอดเวลา การเลี้ยงสัตว์ตอบโจทย์ข้อจำกัดที่ว่า เพราะมีความคล่องตัวสูงกว่าไม่เหมือนการทำเกษตรกรรม”  Ada Jacobsen ผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์ของ ICRC กล่าวระหว่างการจัดกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้ฝูงสัตว์ในหุบเขา Maura Hills “ถ้าไม่มีปศุสัตว์เป็นของตัวเอง ก็เหมือนคุณไม่ใช่ชาวซูดานใต้ ” ...
อาวุธเคมี : ฆาตกรร้าย ความหมาย และความสำคัญ

อาวุธเคมี : ฆาตกรร้าย ความหมาย และความสำคัญ

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ข่าวการใช้อาวุธเคมีโจมตีผลเรือนในเมืองดูมาของซีเรีย และข่าวการใช้สารเคมีทำลายประสาทเพื่อลอบสังหารอดีตสายลับรัสเซียในอังกฤษ กลายเป็นประเด็นใหญ่ที่ทำให้การใช้อาวุธเคมี กลายเป็นที่พูดถึงกันอย่างกว้างขวาง มาฟัง  Johnny Nehme ผู้เชี่ยวชาญด้านอาวุธเคมี ชีวภาพ รังสี และนิวเคลียร์ ของ ICRC ตอบคำถาม 5 ...
The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

The Face of ICRC : ชวนวิศวกรไทย คุยเรื่อง ‘น้ำ’ และ ‘ที่อยู่อาศัย’ ในประเทศอิรัก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ไม่ต้องบอกก็รู้ว่า อิรัก คงไม่ใช่จุดหมายหลักของคนทั่วไป เมื่อทราบว่ามีเพื่อนร่วมงานจากแผนกน้ำและที่อยู่อาศัย (Water and Habitat) เคยไปใช้ชีวิตอยู่ในอิรัก เราก็ชักอยากทำความรู้จักขึ้นมา การทำงานสามเดือนในประเทศที่อยู่บนหน้าข่าวสงครามยาวนานร่วมสิบปี มีความสนุกและท้าทายอย่างไร? ข้างล่างนี้มีพื้นที่มากพอให้ กานต์ ตุ้มศรี วิศวกรของ ...
ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

ICRC ประณามการลอบยิงเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานด้านมนุษยธรรมที่ประเทศเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) รู้สึกตกใจและเสียใจต่อเหตุการณ์ลอบยิงเจ้าหน้าที่ ขณะกำลังเดินทางไปเยี่ยมเรือนจำในเมืองตาอิช (Taiz) ประเทศเยเมน นาย Hanna Lahoud เป็นชาวเลบานอน เริ่มทำงานกับ ICRC ตั้งแต่ปี 2553 ตลอดเวลาเกือบ ...
หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น เบื่องหลังภาพถ่ายและความทรงจำมากมายที่ต่างไป ผู้คนเหล่านี้มีหนึ่งเป้าหมายที่เหมือนกัน ‘พวกเขาพร้อมที่จะสร้างชีวิตขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ตราบเท่าที่ยังมีลมหายใจ’ ในปี ...
The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

The Face of ICRC: สิ่ง (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมที่ทำให้คนมีความสุข

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วิศวกรรมกับมนุษยธรรมอาจฟังดูไม่เข้ากันเท่าไหร่ หลายคนอาจไม่รู้แต่ที่ #ICRC เรามีหน่วยงานด้านเทคนิคที่มีชื่อเรียกชวนฉงนว่า WATHAB … เจ้า #WATHAB คืออะไร ทำอะไรได้บ้าง? มาฟังเรื่องเรื่องราวของพี่โจ – ธันวิชช์ มหัทธนาสิงห์ วิศวกรของ ICRC และการสร้างสรรค์สิ่งที่ (ไม่) มหัศจรรย์ทางวิศวกรรมแต่ทำให้คนมีความสุข ...
ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

สถานการณ์สู้รบภาคพื้นดินในเยเมนตึงเครียดอีกครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เรียกร้องให้กองกำลังทุกกลุ่มหลีกเลี่ยงการโจมตีเมืองโบราณราเบ็ล (Zabid) เมืองมรดกโลกที่เก่าแก่ที่สุดในเยเมน ความวุ่นวายในสงครามกลางเมืองเยเมนไม่เพียงเป็นอันตรายต่อพลเมืองแต่ยังทำให้สถาปัตยกรรมทรงคุณค่าอยู่ในภาวะเสี่ยง ราเบ็ลเป็นเมืองหลวงเก่าและเป็นเมืองสำคัญในวัฒนธรรมอิสลามที่มีอายุย้อนหลังไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 13-15 มหาวิทยาลัยราเบ็ล ถือเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในหมู่ประเทศอาหรับและมุสลิม เป็นศูนย์กลางทางการวิจัยและเป็นภาพลักษณ์ขององค์ความรู้อิสลามที่ไม่อาจประเมินค่าได้ ภายในเมืองยังมีกลุ่มอาคารอีกมากมาย ทั้งบ้าน มัสยิด ...