ICRC

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

, บทความ / บล็อค

“Taking the law out of the books” คือประโยคสั้นๆ อธิบายการแข่งขันด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศของ ICRC ที่เรียกกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Jean-Pictet Competition งานที่ว่าจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นเวทีสำหรับนักเรียนกฎหมายรุ่นใหม่ ให้ได้ลองใช้ความรู้ด้านกฎหมาย ในการว่าความร่วมกับผู้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ สิริกมล สุรทิณฑ์ (แป้ง), สาริสา ทีฆตระกูล (แอ๊นท์) และ ...
เด็กชาย ความฝัน และกับระเบิด

เด็กชาย ความฝัน และกับระเบิด

, บทความ / บล็อค

ลา ซาน มีความฝันไม่ต่างจากเด็กอีกหลายพันในเมียนมา เขาอยากเรียนให้สูง หารายได้เพื่อดูแลครอบครัว และตั้งใจไว้ว่าหลังสอบรอบนี้ จะจัดทริปเล็กๆ ไปเยี่ยมญาติในประเทศจีน   เพื่อหาเงินมาเป็นค่าเดินทาง ลา ซานเริ่มอาชีพเสริม เข้าป่าเพื่อมองหาหน่อไม้มาขายในหมู่บ้าน   ‘วันนั้นผมเดินกลับบ้านเหมือนทุกครั้ง แต่สิ่งที่เกิดขึ้น เปลี่ยนชีวิตผมไปตลอดกาล’   ลา ซาน ย้อนให้ฟังถึงเหตุการณ์ในเดือนกุมภาพันธ์ 2017 เมื่อเขาเหยียบกับระเบิดระหว่างทาง ...
เป็นตัวเองให้แกร่งกว่าเดิม: 3 เรื่องเล่าอุ่นหัวใจเนื่องในวันสตรีสากล

เป็นตัวเองให้แกร่งกว่าเดิม: 3 เรื่องเล่าอุ่นหัวใจเนื่องในวันสตรีสากล

, บทความ / บล็อค

“เราเริ่มจากการเป็นแม่บ้าน ทำงานสองครั้งต่อสัปดาห์ ตอนนั้นภาษาอังกฤษไม่ได้เลย แค่กล่าวคำทักทายยังฟังไม่เข้าใจ แต่เราคิดว่าภาษาอังกฤษเป็นเรื่องจำเป็น เพราะเราทำงานในองค์กรที่มีคนหลายเชื้อชาติ หลายภาษา บางทีออฟฟิศไม่มีคนอยู่ แต่มีสายโทรเข้ามา เราก็ต้องรับโทรศัพท์ และถ้าคนที่ติดต่อมาเขาเดือดร้อนอยู่ แต่เราพูดกับเขาไม่ได้ คงทำให้เขาเสียโอกาส “ตอนเริ่มเรียนภาษาอังกฤษ แค่นิทานสั้นๆ คนในคลาสเขาหัวเราะสนุกกัน แต่เราฟังไม่เข้าใจ เราเลยคิดว่า ต้องพยายามมากกว่าคนอื่น เราฟัง YouTube ดูทีวี ฟังวิทยุเป็นภาษาอังกฤษ ...
สารพันปัญหาว่าด้วยระเบิดปรมาณู: ถาม-ตอบ ข้อข้องใจด้านสุขภาพกับคุณหมอประจำโรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ

สารพันปัญหาว่าด้วยระเบิดปรมาณู: ถาม-ตอบ ข้อข้องใจด้านสุขภาพกับคุณหมอประจำโรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ระเบิดปรมาณูมีผลข้างเคียงด้านสุขภาพจริงหรือไม่? ไขข้อข้องใจกับด็อกเตอร์มาซาโอะ โทโมนากะ ผู้อำนวยการกิตติมศักดิ์โรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ สภากาชาดญี่ปุ่น ถาม: ผู้รอดชีวิตจากระเบิดปรมาณูต้องเจอผลกระทบทางสุขภาพอย่างไรบ้าง? ตอบ: ผลกระบทหลักของสารกัมมันตรังสีคือโรคลูคีเมีย (มะเร็งเม็ดเลือดขาว), มะเร็ง และโรคหัวใจ บางคนอาจมีอาการหลายอย่างทับซ้อนกัน สำหรับคนที่โดนระเบิดโดยตรง บางคนตาบอดเพราะจ้องมองการระเบิด ...
‘ตอนพบกันครั้งสุดท้าย เธอแค่มีไข้’ – บันทึกใจสลายในพื้นที่แพร่ระบาดของเชื้ออีโบล่า

‘ตอนพบกันครั้งสุดท้าย เธอแค่มีไข้’ – บันทึกใจสลายในพื้นที่แพร่ระบาดของเชื้ออีโบล่า

, บทความ / บล็อค

เสียงร้องของซาวาดีทำฉันใจสลาย ในทุกๆ ลมหายใจเหมือนเธอกำลังต่อสู้ด้วยพลังเฮือกสุดท้ายเพื่อยื้อชีวิตไว้ได้นานที่สุด ร่างมนุษย์ในชุดพลาสติกสีเหลืองขาวเพิ่งมาถึง พวกเขามาพร้อมถุงพลาสติกอีกใบ สำหรับใส่ร่างที่กำลังหมดลมของซาวาดี – แม่ของลูกๆ พี่สาวผู้เป็นที่รัก และคุณป้าของหลานๆ อีกมากมาย ฉันอยู่ในศูนย์รักษาอีโบล่าในคองโก ทุกอย่างสะอาด ผ่านการล้างด้วยคลอรีน เหมือนว่าทุกอย่างจากข้างนอกจะถูกชำระล้างก่อนก้าวเข้ามา ทุกอย่าง ยกเว้นความเจ็บปวด หนึ่งในร่างชุดเหลืองขาวเปิดถุงบรรจุศพเพื่อมองหน้าบุคคลอันเป็นที่รักอีกครั้ง ตอนนั้นเองที่ความอดทนพังทลาย เสียงร้องไห้กระหึ่มดัง น้ำตาไหลนองหน้าเหมือนเขื่อนที่ถูกทลาย พวกเราออกจากห้องเพื่อให้เวลาครอบครัวของซาวาดีบอกลาเธออีกครั้ง เพื่อนร่วมงานหันมาพูดกับฉัน ...
Valentine volunteers: เรื่องรักๆ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 

Valentine volunteers: เรื่องรักๆ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 

, บทความ

ทหารกับนางพยาบาล แทบจะเป็นความรักคลาสสิกที่พบทั่วไปในยามรบ สำหรับทหารมากมาย รอยยิ้มและการดูแลของเหล่าพยาบาลอาสาเป็นสิ่งเยี่ยวยาจิตใจ เป็นพลังบวก และเป็นเหมือนบ้านหลังเล็กๆ ให้ได้พักผ่อนก่อนกลับไปรับใช้ชาติ นายทหารหลายคนผูกมิตรกับสาวๆ ร้องเพลงและเล่าเรื่องราวในใจให้พวกเธอฟัง หลายคนฝากของที่ระลึกหรือรูปถ่าย เพราะไม่แน่ใจว่าตัวเองจะได้กลับมาหรือไม่ หรือในบางครั้ง ความสัมพันธ์อาจข้ามผ่านมุกตลกและบทสนทนา จนกลายเป็นไปเป็นความรักยืนยาวชั่วชีวิต Helen Beale พยาบาลอาสาของสภากาชาดอังกฤษ เล่าเรื่องประทับใจเกี่ยวกับทหารที่เธอดูแลในฝรั่งเศส ‘ฉันพบทหารที่ตลกที่สุดเท่าที่เคยรู้จัก เขามาจากเมืองชนบทชื่อ Lincolnshire (เมืองในอังกฤษ) และเกือบทำฉันขายหน้าหลายครั้ง ...
ร่องรอยดิจิตอลขององค์กรมนุษยธรรมทำให้ผู้คนตกอยู่ในความเสี่ยงได้อย่างไร?

ร่องรอยดิจิตอลขององค์กรมนุษยธรรมทำให้ผู้คนตกอยู่ในความเสี่ยงได้อย่างไร?

, บทความ / บล็อค

ข้อความโทรศัพท์ ข้อมูลการโทรติดต่อ ข้อความบนสื่อสังคมออนไลน์ หรือรายการโอนเงิน แม้ว่าข้อมูลเหล่านี้จะได้รับการเข้ารหัสไว้ ก็ยังสามารถบ่งบอกสิ่งต่าง ๆ เกี่ยวกับตัวคุณได้มากมาย หากในยามสันติข้อมูลดังกล่าวยังมีความเสี่ยง แล้วในยามสงครามความเสี่ยงของข้อมูลเหล่านี้จะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด สมมติฐานดังกล่าวจึงเป็นที่มาของรายงานเรื่องปัญหาของข้อมูลเมทาดาทา (metadata) ในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม: “ห้ามก่อภยันตราย” ในยุคดิจิตอล (The humanitarian metadata problem: ‘Doing no harm’ in ...
เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

, บทความ

งานวิจัยใหม่ที่ตีพิมพ์โดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ชี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและความขัดแย้ง มีผลโดยตรงต่อจำนวนผู้อพยพที่เพิ่มสูงขึ้น ICRC จับมือกับ World Economic Forum ในสวิสเซอร์แลนด์ ทำการศึกษาบริเวณแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา พื้นที่ที่ว่าครอบคลุมหลายประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งแต่เซเนกัลไปจนถึงซูดาน ประเทศเหล่านี้มีจุดร่วมเดียวกัน คือปัญหาด้านความอดยาก การก่อการร้ายทางศาสนา การกบฎ และการค้ามนุษย์ในระดับภูมิภาค ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข ความพิเศษของแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา (หรือที่เรียกกันว่า ‘ซาเฮล’) ...
เสียงที่มองเห็น –  ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

เสียงที่มองเห็น – ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

, บทความ

“ผมอายุ 33 ไม่เคยขึ้นเครื่องบินมาก่อน” Abdel Rahman Zagout ช่างภาพชาวปาเลสไตน์เอาชนะรางวัลประกวดภาพถ่ายของ ICRC ประจำปี 2018 ด้วยเซ็ทภาพวาดที่บอกเล่าเรื่องราวของวัยรุ่นในกาซ่า เป็นเวลาร่วม 10 ปี ที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยความขัดแย้งที่ส่งผลโดยตรงต่อสภาพเศรฐกิจ นักศึกษาจบใหม่กว่า 70 กลายเป็นคนตกงานในทันทีในขณะที่ บางส่วนเลือกเดินทางข้ามชายแดนไปตามหาอนาคตใหม่ในประเทศอียิปต์ ภาพถ่ายของ Zagout สะท้อนความฝันของวัยรุ่นที่เกิดและเติบโตท่ามกลางความขัดแย้งด้วยถ้อยคำที่ดังฟังชัด Reference: ...
หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

, บทความ / บล็อค

ภาพความทรงจำครั้งเมื่อฉันไปเยือนพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมายังคงแจ่มชัด แม้ว่าในวันนั้นสภาพอากาศจะร้อนเหนอะหนะแต่ก็มีผู้คนเดินทางมายังพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เพื่อใช้เวลานึกคิดอย่างสงบนิ่ง ข้าพเจ้าสามารถสัมผัสได้ถึงความปรารถนาให้เกิดสันติภาพผ่านการกระทำของผู้คนที่ค่อยบรรจงวางดอกไม้และนกกระเรียนที่พับไว้อย่างประณีต ณ ฐานของอนุสรณ์ ญี่ปุ่นเป็นเพียงประเทศเดียวที่เคยประสบเคราะห์ภัยจากการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ โดยมีผู้รอดชีวิตจากระเบิดนิวเคลียร์หรือที่เรียกว่า ฮิบาคุชา (Hibakusha) จำนวนหลายพันคน ทิ้งไว้ซึ่งร่องรอยบาดแผลทางกายและจิตใจ บทเรียนที่โหดร้ายในเหตุการณ์ครั้งนี้จึงทำให้ประวัติและชื่อเมืองฮิโรชิมะกลายเป็นที่รู้จักทั่วโลก ดร. มาร์เซล ยูโนด จากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) ...