Climate change

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศเปิดกองทุนลดโลกร้อน

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศเปิดกองทุนลดโลกร้อน

, News / ไทย

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross- ICRC) เปิดตัวกองทุนเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Climate and Environment Transition Fund) อันเป็นโครงการระยะยาวเพื่อสนับสนุนเป้าหมายของไอซีอาร์ซีด้านความยั่งยืนและการลดโลกร้อน ผ่านการทำงานมนุษยธรรมของไอซีอาร์ซีทั่วโลก นาย ปีเตอร์ เมาเรอร์ ประธานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ กล่าวว่า ...
จากทะเลสาบเป็นทะเลทราย: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้ประเทศมาลีเผชิญสภาวะวิกฤต

จากทะเลสาบเป็นทะเลทราย: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้ประเทศมาลีเผชิญสภาวะวิกฤต

, บทความ / บล็อค

เพียงหนึ่งเดือนก่อนถึงการประชุมภาคีสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (COP26) สถานการณ์ในมาลีได้เตือนให้ทั้งโลกได้เห็นถึงประเด็นร้อนที่ส่งผลโดยตรงกับชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่ขัดแย้ง ประเทศมาลีได้รับการจัดอันดับจาก ND-GAIN ให้เป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุดเป็นอันดับ 7 ด้วยปัญหาความขัดแย้งอย่างนาวนานทำให้ UNDP จัดอันดับมาลีเป็นประเทศที่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ และเป็นประเทศที่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) ต่ำที่สุดเป็นอันดับที่ 184 จาก 189 ประเทศ นายแพทริก ยูเซฟ ผู้อำนวยการประจำภูมิภาคแอฟริกา คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ...
ต่อให้ติด – ช่องว่างกรอบกฎหมายของการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและการขัดกันทางอาวุธ

ต่อให้ติด – ช่องว่างกรอบกฎหมายของการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและการขัดกันทางอาวุธ

, บทความ / บล็อค

บทความโดย เอกอัครราชทูต มาเรีย เลห์โท กระทรวงการต่างประเทศฟินแลนด์ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการขัดกันทางอาวุธไม่ได้เป็นผลกระทบที่เกิดจากการกระทำของฝ่ายปรปักษ์เท่านั้น แต่ยังเกิดจากซากอาวุธสงครามที่เป็นพิษหรืออันตราย การขูดรีดเอาทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่ขัดแย้งมาใช้มากเกินไป กลยุทธ์การเอาชีวิตรอดที่ไม่ยั่งยืนที่ประชากรที่ได้รับผลกระทบต้องนำมาปฏิบัติใช้ หรือเกิดจากการล่มสลายของสถาบันต่าง ๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (ILC) นอกจากจะจัดทำแนวทางปฏิบัติของ ICRC ที่เพิ่งเผยแพร่ไปเมื่อไม่นานมานี้ ยังได้ดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริบทที่มีการขัดกันทางอาวุธ อันเป็นการช่วยพัฒนาปรับปรุงแนวทางของกฎหมายระหว่างประเทศในการรับมือกับความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมในบริบทของสถานการณ์ความขัดแย้ง ในบทความนี้และในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง สงคราม กฎหมาย และสิ่งแวดล้อมของเรา ที่เผยแพร่ร่วมกับเว็บไซต์ ...
มนุษยธรรมกับสิ่งแวดล้อม สองสิ่งนี้ไปด้วยกันได้หรือไม่ อีกมุมหนึ่งของน้ำใจที่แสดงออกผ่านการเข้าถึงทรัพยากร

มนุษยธรรมกับสิ่งแวดล้อม สองสิ่งนี้ไปด้วยกันได้หรือไม่ อีกมุมหนึ่งของน้ำใจที่แสดงออกผ่านการเข้าถึงทรัพยากร

, บทความ / บล็อค

มนุษยธรรม กับ สิ่งแวดล้อม อาจเป็นสองคำที่ฟังดูห่าง อันที่จริงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสร้างผลกระทบให้ประเด็นมนุษยธรรมในหลายพื้นที่ ในแอฟริกา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด จนเกิดเป็นสงครามและความรุนแรงที่ตามมา ในประเทศไทยซึ่งปัญหาสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก คำถามว่ามนุษยธรรมกับสิ่งแวดล้อมสามารถสะท้อนความมีน้ำใจในช่วงเวลาวิกฤตได้หรือไม่ ได้รับคำตอบที่น่าสนใจจากคุณสุรชัย ปานน้อย ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาสื่อสารด้านภัยพิบัติ ไทยพีบีเอส “ประเด็นสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องมนุษยธรรมโดยตรง เพราะมันแสดงให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของการเข้าถึงทรัพยากร ในช่วงโควิด-19 การเข้าถึงหน้ากากอนามัยเป็นเรื่องของคนที่มีกำลังซื้อสูง คนที่อยู่ฐานล่างต้องใช้หน้ากากอนามัยแบบรีไซเคิลซึ่งทำให้เขามีความเสี่ยงมากกว่า มีคนบอกผมว่ายิ่งคนมีกำลังซื้อสูงเท่าไหร่ ก็ยิ่งดูดกลืนทรัพยากรมากเท่านั้น มันจึงเป็นเรื่องจำเป็นที่เราต้องสื่อสารประเด็นนี้เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันทางความคิด เพราะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมไม่ใช่ภาระของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นเรื่องของเราทุกคน” ...
เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

, บทความ

งานวิจัยใหม่ที่ตีพิมพ์โดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ชี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและความขัดแย้ง มีผลโดยตรงต่อจำนวนผู้อพยพที่เพิ่มสูงขึ้น ICRC จับมือกับ World Economic Forum ในสวิสเซอร์แลนด์ ทำการศึกษาบริเวณแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา พื้นที่ที่ว่าครอบคลุมหลายประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งแต่เซเนกัลไปจนถึงซูดาน ประเทศเหล่านี้มีจุดร่วมเดียวกัน คือปัญหาด้านความอดยาก การก่อการร้ายทางศาสนา การกบฎ และการค้ามนุษย์ในระดับภูมิภาค ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข ความพิเศษของแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา (หรือที่เรียกกันว่า ‘ซาเฮล’) ...
ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

, News / บทความ / ไทย

‘ความรุนแรงที่เราเห็นทั่วโลกมีความเชื่อมโยงชัดเจนกับภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ’ กล่าว ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ทำให้ความขัดแย้งภายในและระหว่างประเทศทวีความรุนแรงขึ้นแล้วในปัจจุบัน รัฐบาลควรทำให้แน่ใจว่าสถานการณ์นี้จะไม่แย่ลงกว่าเดิม’ ปีเตอร์ เมาเร่อ ประธาน ICRC ประธาน ICRC กล่าว ประธาน ICRC ให้สัมภาษณ์กับ Guardian Australia ว่า ประเด็นดังกล่าวกลายเป็นเงื่อนไขในการทำงานด้านมนุษยธรรมเร็วกว่าที่คิด ‘นี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวหากประเมินจากการทำงานของ ICRC ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ในพื้นที่อย่างโซมาเลีย หรือประเทศในแถบแอฟริกา ...