โควิด-19

กาชาดสากลเรียกร้องส่งวัคซีนถึงประชากรในพื้นที่ขัดแย้งทั่วโลก

กาชาดสากลเรียกร้องส่งวัคซีนถึงประชากรในพื้นที่ขัดแย้งทั่วโลก

, News / ไทย

นครเจนีวา – ประชากรในพื้นที่สู้รบและสงครามมีความเสี่ยงจะเป็นกลุ่มสุดท้ายในโลกที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 โดยจากสถิติปัจจุบัน ครึ่งหนึ่งของประเทศที่มีอัตราการฉีดวัคซีนต่ำที่สุดในโลกจำนวน 25 ประเทศนั้นเป็นประเทศที่มีการสู้รบและความรุนแรง เนื่องในโอกาสที่การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (World Health Assembly) จะเริ่มต้นขึ้นปลายเดือนนี้ คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross – ICRC) ...
การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

, E-Book

ดาวน์โหลดเอกสารแสดงการทำงานของ ICRC ในช่วงโควิด-19 อัพเดท ณ วันที่ 20 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564  
กาชาดสากล สนับสนุนโรงพยาบาลสนามรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ของสภากาชาดไทย

กาชาดสากล สนับสนุนโรงพยาบาลสนามรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ของสภากาชาดไทย

, News / ไทย

ข่าวประชาสัมพันธ์ 29 ธันวาคม 2021 กาชาดสากล สนับสนุนโรงพยาบาลสนามรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ของสภากาชาดไทย กรุงเทพฯ – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross – ICRC) หรือ ไอซีอาร์ซี นำโดย นาย คริสตอฟ ...
น้ำใจแบบไหนที่เราเห็นได้ในยามวิกฤต? อ่านแนวคิดมุมมองสองช่างภาพมากประสบการณ์ผ่านการตีความคำว่า “Kindness during Crises”

น้ำใจแบบไหนที่เราเห็นได้ในยามวิกฤต? อ่านแนวคิดมุมมองสองช่างภาพมากประสบการณ์ผ่านการตีความคำว่า “Kindness during Crises”

, บทความ / บล็อค

วิกฤตต่างๆ อาจมาพร้อมความเสียหายและน้ำตา แต่หลายครั้งที่ความยากลำบากทำให้เราได้เห็นด้านดีๆ ของมนุษยผ่านการแบ่งปันและความมีน้ำใจ คุณปาล์ม – ภานุมาศ สงวนวงษ์ ผู้ก่อตั้ง Thai news pix และคุณฟี่ – เอกรัตน์ ปัญญะธารา บรรณาธิการภาพถ่าย นิตยสาร National Geographic Thailand สองช่างภาพมากประสบการณ์ผู้เคยผ่านการลงพื้นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย คิดอย่างไรกับมุมมองมนุษยธรรมที่ถูกถ่ายทอดผ่านภาพถ่าย? ...
เกิดอะไรขึ้นในหนึ่งปี หลากเรื่องราวหลายผลกระทบจากโควิด-19 ในพื้นที่สงคราม

เกิดอะไรขึ้นในหนึ่งปี หลากเรื่องราวหลายผลกระทบจากโควิด-19 ในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

ถ้าโควิด-19 ทำให้ระบบสาธารณสุขที่ก้าวหน้าที่สุดตกอยู่ในภาวะยากลำบาก โรงพยาบาลในพื้นที่สงครามจะรับมืบวิฤตครั้งนี้ได้อย่างไร? นี่คือเรื่องราวจากแนวหน้าของประเทศที่เผชิญโรคร้ายพร้อมความท้าทายอีกมากมาย อิรัก – ชีวิตสร้างใหม่ภายใต้ซากปรักหักพัง “ไม่มีงานให้ทำอีกต่อไป ทุกอย่างหยุดนิ่ง แต่ถ้าคุณต้องอยู่โดยไม่เหลืออะไร มันคงง่ายกว่าถ้าอย่างน้อยคุณได้อยู่กับครอบครัว” Jassim จากอิรัก กล่าวถึงความยากลำบากเมื่อตลาดแรงงานของอิรักล่มสลายหลังวิกฤตโควิด-19 ตัวเขาและครอบครัวเคยลี้ภัยออกจากบ้านเพราะสงครามและความขัดแย้ง เมื่อระบบเศรฐกิจล่มสลาย Jassim พบว่าการหางานเพื่อสร้างชีวิตใหม่เป็นเรื่องทำไม่ได้อีกต่อไป เขาและครอบครัวตัดสินใจเดินทางกลับบ้านเป็นครั้งแรกในรอบหลายปี ในพื้นที่สงครามอย่างอิรัก โควิด-19 ไม่เพียงกระทบคุณภาพชีวิตของผู้คนในค่ายลี้ภัย แต่รวมไปถึงผู้คนมากมายที่ดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อประกอบอาชีพ ...
วัคซีน COVID-19 และ IHL: การประกันว่าประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งจะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเสมอภาค

วัคซีน COVID-19 และ IHL: การประกันว่าประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งจะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเสมอภาค

, บทความ / บล็อค

ในขณะที่ประเทศต่าง ๆ ต่อสู้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 กันอย่างหนักหน่วงอยู่นั้น ทั่วโลกก็ให้ความสนใจต่อการพัฒนาคิดค้นวัคซีนไปด้วย และแม้ว่าไวรัสจะส่งผลกระทบต่อทุกประเทศและประชาชนทุกคนโดยไม่แบ่งแยก แต่การควบคุมการแพร่ระบาดในสถานการณ์ที่มีการขัดกันทางอาวุธนั้นถือเป็นความท้าทายที่ไม่เหมือนที่ใด หากเมื่อมีวัคซีนแล้ว เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่า ทุกคน รวมถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตสงคราม จะเข้าถึงวัคซีนได้อย่างเท่าเทียมกัน และภาระผูกพันที่มีต่อบุคลากรทางการแพทย์และสถานอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการทางการแพทย์จะเป็นอย่างไรบ้าง ในบทความนี้ อเล็กซานเดอร์ ไบรเท็กเกอร์ ที่ปรึกษากฎหมายของ ICRC จะพาเราวิเคราะห์ถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในกรณีนี้ จวบจนถึงตอนนี้ ก็นับเป็นเวลาหลายเดือนแล้วที่นักวิจัยทั่วโลกต่างพยายามอย่างเต็มที่เพื่อพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด-19 โดยขณะที่ผมเขียนต้นฉบับนี้ ...
เล่าเรื่องด้วยภาพ เกิดอะไรขึ้นบ้างในปี 2020?

เล่าเรื่องด้วยภาพ เกิดอะไรขึ้นบ้างในปี 2020?

, บทความ / บล็อค

เคนย่า – ฝูงตั๊กแตนร้อยล้านตัวบุกพื้นที่การเกษตร ผลักประชากรหลายล้านเสี่ยงต่อปัญหาความมั่นคงทางอาหาร องค์การอาหารโลก (FAO) ชี้ สถานการณ์เลวร้ายที่สุดใน 25 ปี อัฟกานิสถาน – พยาบาลผดุงครรภ์เป็นเจ้าหน้าที่ด้านการดูแลสุขภาพแนวหน้าที่สำคัญที่สุดของอัฟกานิสถาน แผนกสูติกรรมของบางโรงพยาบาลต้องรับเด็กทารกมากกว่า 90 คนต่อวัน พวกเขาทำหน้าที่อย่างหนักเพื่อรักษาชีวิตของแม่และเด็ก โมซัมบิก – ในปี 2019 พายุไซโคลน Idai ...
Day of the Dead คนเป็นระลึกถึงคนตาย งานเทศกาลของละตินอเมริกาถูกจัดอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19

Day of the Dead คนเป็นระลึกถึงคนตาย งานเทศกาลของละตินอเมริกาถูกจัดอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19

, บทความ / บล็อค

Dia de los Muertos (Day of the Dead) เทศกาลระลึกถึงผู้จากไปของชาวละตินอเมริกจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในวันที่ 1 และ 2 พฤศจิกายน เพื่อเป็นโอกาสให้คนเป็นได้ร่วมกันอธิษฐานถึงเพื่อนและญาติผู้จากไปโดยเชื่อว่าวิญญาณของพวกเขาจะหวนคืนสู่ครอบครัวและบุคคลอันเป็นที่รักในช่วงเวลาดังกล่าว ปีนี้เทศกาลแสนสำคัญถูกจัดในรูปแบบต่างไป ในภาวะที่โควิด-19 กลายเป็นภัยใหญ่ที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้ทั่วโลก งานเทศกาลในปีนี้จึงเป็นเหมือนโอกาสให้คนที่ยังมีชีวิต ได้คิดย้อนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ผ่านมาตลอดปี ผ่านมุมมองทางศาสนาและความเชื่อ เพื่อนรวมงานของเราลงพื้นที่ร่วมกับ National Geographic ...
โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

, บทความ / บล็อค

ความรุนแรงทางเพศมักเป็นผลกระทบจากสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ความรุนแรง ภัยธรรมชาติ หรือแม้แต่ภาวะโรคระบาดอย่างโควิด-19 ในภาวะเหล่านี้ นอกจากผู้ได้รับผลกระทบจะต้องเผชิญกับความยากลำบากทางมนุษยธรรมไม่ว่าจะเป็นเรื่องน้ำ อาหาร ยารักษาโรค ความปลอดภัยหรือแม้แต่ปัญหาเรื่องเศรฐกิจและรายได้ อีกหนึ่งประเด็นที่มักเกิดขึ้นตามมาคือปัญหาด้านครอบครัวและสังคมอย่างการใช้กำลัง การถูกทอดทิ้ง การเอารัดเอาเปรียบทางเพศ การเลือกปฎิบัติ และการทารุณกรรม ข่าวร้อนจากทั่วโลกเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าภาวะโรคระบาดไม่เพียงเพิ่มความเสี่ยง แต่ยังเป็นต้นเหตุให้การคุกคามทางเพศ และความรุนแรงทางเพศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ จากประเทศจีนไปจนถึงสหราชอาณาจักรรวมไปถึงประเทศอื่นๆ ระหว่างทาง มีรายงานว่าสายด่วนเพื่อให้ความช่วยเหลือเรื่องความรุนแรงในบ้านต้องรับเคสกันหนักขึ้นถึง 60-700% ในแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีถึงขั้นกล่าวว่า ...
การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ / บล็อค

ในการร่วมกันรับมือของเราต่อสถานการณ์ COVID-19 ในเขตการสู้รบนั้น การปฏิบัติตามบทบัญญัติสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ คือสิ่งสำคัญจำเป็น เพื่อให้ความต้องการของชุมชน ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ และหน่วยงานรัฐ ในห้วงเวลาอันยากลำบากเป็นประวัติการณ์นี้ ได้รับการสนองตอบอย่างเพียงพอและเหมาะสม เราทุกคนต่างกำลังเผชิญกับสถานการณ์วิกฤตร่วมกันทั่วโลก และ COVID-19 ไม่ได้สนใจเรื่องพรมแดนระหว่างประเทศหรือคำนึงถึงผู้มีอำนาจหรือความมั่งคั่ง แต่กระนั้น แม้ไวรัสจะเดินทางไปแพร่เชื้อให้ทุกคนในทุกหนแห่งโดยไม่เลือกหน้า แต่ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ของไวรัสชนิดนี้กลับไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน พลเรือนที่ติดอยู่ท่ามกลางการสู้รบ ไม่ว่าจะเป็นผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก รวมทั้งผู้พลัดถิ่นจากสถานการณ์ความรุนแรงและผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศที่ จากการสู้รบ ...