กาชาดสากล

คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

, News / ไทย

เจนีวา (ICRC) สถานการณ์ทางการเมืองในเยเมนอยู่ในช่วงวิกฤต กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ – ข้อกำหนดพื้นฐานว่าด้วยการปกป้องพลเรือน ถูกละเลยจากฝ่ายที่ทำการต่อสู้ ความเสียหายและภาวะหิวโหยกลายเป็นปัญหาใหญ่ ชาวเยเมนทั่วประเทศเผชิญหน้ากับภาวะความอดยากและยากจนแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน การแก้ปัญหาในเยเมน ต้องพึ่งพาความร่วมมือเร่งด่วนจากหลายภาคส่วน: กระบวนการทางการเมืองจะต้องกลับคืนสู่ภาวะปกติ พื้นที่ขัดแย้งจะต้องถูกกำหนดและควบคุมไม่ให้ลุกลาม ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมจะต้องไม่ถูกขัดขวาง ทั้งนี้ทั้งนั้น สิ่งที่สำคัญมากเป็นอันดับหนึ่ง คือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศหรือที่เราเรียกกันว่า ‘กฎแห่งสงคราม’ จะต้องได้รับการปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The International Committee ...
ICRC ประณามการฆาตกรรมพยาบาลผดุงครรภ์ และเรียกร้องให้ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวขณะออกปฎิบัติงานในประเทศไนจีเรีย

ICRC ประณามการฆาตกรรมพยาบาลผดุงครรภ์ และเรียกร้องให้ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวขณะออกปฎิบัติงานในประเทศไนจีเรีย

, บทความ / บล็อค

เจนีวา/อาบูจา (ICRC) – คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ขอประณามการฆาตกรรม Saifura Hussaini Ahmed Khorsa พยาบาลผดุงครรภ์และเพื่อนร่วมงานคนสำคัญของเรา พร้อมเรียกร้องให้กลุ่มติดอาวุธ ปล่อยตัวเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์อีกสองท่านที่ถูกลักพาตัวไประหว่างออกปฎิบัติหน้าที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไนจีเรีย เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ‘เรารู้สึกเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับ Saifura’ Eloi Fillion ผู้อำนวยการ ICRC สำนักงานอาบูจา กล่าวแสดงความเสียใจ ‘Saifura ...
‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

‘อย่าลืมพวกเรา’: เสียงเล็กๆ จากเจ็ดครอบครัวสุดท้ายในหมูบ้านวาเดียเนีย ประเทศยูเครน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

วาเดียเนีย หมู่บ้านเล็กๆ ทางตอนใต้ของยูเครนเคยเป็นสถานที่ที่ใครหลายคนเรียกว่าบ้าน จากประชากรกว่า 300 ครอบครัว ปัจจุบันวาเดียเนียมีสมาชิกเหลือเพียง 13 คนเท่านั้น ย้อนไปหลายปีก่อนหน้า หมู่บ้านที่เงียบสงบเคยเป็นจุดหมายปลายทางของชาวเมืองที่อยากหนีความวุ่นวายช่วงปลายสัปดาห์ มาหาธรรมชาติและบรรยากาศเรียบง่ายของโรงนา พื้นหญ้า และฝูงปศุสัตว์ ด้วยความที่วาเดียเนียอยู่ห่างจากเมืองใหญ่อย่างมาริอูปอลที่มีประชากรเกือบครึ่งล้านเพียง ...
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์/มัลบีนัส: 7 สัปดาห์กับภารกิจคืนชื่อให้ผู้วายชนม์

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในปี 1982 สงครามระหว่างอาร์เจนตินาและสหราชอาณาจักรสร้างบาดแผลให้หลายครอบครัว สงครามเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 1982 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์-อาณานิคมของอังกฤษในขณะนั้น ฝ่ายอาร์เจนตินาอ้างว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ สงครามที่ว่าสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ...
บุคลากรทางการแพทย์ตกเป็นเป้าโจมตีจากเหตุความไม่สงบไม่เว้นแต่ละวัน

บุคลากรทางการแพทย์ตกเป็นเป้าโจมตีจากเหตุความไม่สงบไม่เว้นแต่ละวัน

, บทความ

แม้ว่าในปี 2016 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะผ่านมติห้ามโจมตีสถานพยาบาล แต่สองปีหลังการบังคับใช้ บุคลาการทางการแพทย์ที่ปฎิบัติภารกิจด้านมนุษยธรรมทั่วโลก ก็ยังตกเป็นเป้าหมายการโจมตีไม่เว้นแต่ละวัน เมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมานี้เอง ที่สาธารณรัฐแอฟริกากลาง มีกลุ่มติดอาวุธบุกโจมตีโรงพยาบาลที่เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของ ICRC ปฎิบัติหน้าที่อยู่ เหตุความรุนแรงลุกลามไปถึงการบังคับจอดและข่มขู่รถพยาบาลที่กำลังรับส่งผู้ป่วยบนท้องถนน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ระบุว่าหน่วยงานด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนรถพยาบาล ควรได้รับการคุ้มครองจากทุกฝ่าย น่าเสียดายว่า ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2016 จนถึงวันนี้ ICRC ได้รับแจ้งเหตุการโจมตีเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทางการแพทย์มากกว่า ...
หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

หลังผ่านความขัดแย้งยาวนานร่วม 10 ปี นี่คือภาพในอิรักที่เราอยากให้ทุกคนได้เห็น เบื่องหลังภาพถ่ายและความทรงจำมากมายที่ต่างไป ผู้คนเหล่านี้มีหนึ่งเป้าหมายที่เหมือนกัน ‘พวกเขาพร้อมที่จะสร้างชีวิตขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ตราบเท่าที่ยังมีลมหายใจ’ ในปี ...
ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

ราเบ็ล เมืองมรดกโลกอายุ 800 ปี เสี่ยงโดนทำลายจากการสู้รบยืดเยื้อในเยเมน

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

สถานการณ์สู้รบภาคพื้นดินในเยเมนตึงเครียดอีกครั้ง คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เรียกร้องให้กองกำลังทุกกลุ่มหลีกเลี่ยงการโจมตีเมืองโบราณราเบ็ล (Zabid) เมืองมรดกโลกที่เก่าแก่ที่สุดในเยเมน ความวุ่นวายในสงครามกลางเมืองเยเมนไม่เพียงเป็นอันตรายต่อพลเมืองแต่ยังทำให้สถาปัตยกรรมทรงคุณค่าอยู่ในภาวะเสี่ยง ราเบ็ลเป็นเมืองหลวงเก่าและเป็นเมืองสำคัญในวัฒนธรรมอิสลามที่มีอายุย้อนหลังไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 13-15 มหาวิทยาลัยราเบ็ล ถือเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในหมู่ประเทศอาหรับและมุสลิม เป็นศูนย์กลางทางการวิจัยและเป็นภาพลักษณ์ขององค์ความรู้อิสลามที่ไม่อาจประเมินค่าได้ ภายในเมืองยังมีกลุ่มอาคารอีกมากมาย ทั้งบ้าน มัสยิด ...
ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

ย้อนมองปฏิบัติการของ ICRC ผ่านนิทรรศการ 100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 (1918-2018)

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) ICRC ให้การสนับสนุนองค์กรการกุศลทั่วรัสเซียและยุโรปตะวันออก หนึ่งร้อยปีหลังสงครามสิ้นสุดลง ICRC ยังคงปกป้องชีวิตและศักดิ์ศรีของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของความขัดแย้งทางอาวุธและสถานการณ์ความรุนแรงอื่น ๆ ไปพร้อมกับการส่งเสริมและสนับสนุนกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (เด็กๆ ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าของรัสเซียช่วยกันเลี้ยงแพะเพื่อนำน้ำนมมาเป็นอาหาร ภาพนี้ถูกถ่ายที่เมือง Novgorod ในเดือนสิงหาคม ...
ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

ซูดานใต้: เด็กน้อยที่ถูกลักพาตัวได้กลับคืนสู่ครอบครัวอีกครั้ง

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

อิมมานูเอล (4 ขวบ) โมนิกา (6 ขวบ) และ วิกเตอร์ (12 ขวบ) เด็กทั้งสามถูกลักพาตัวไปจากหมูบ้านเล็กๆ ในประเทศซูดานใต้เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2016 ...
‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ที่หมู่บ้านห่างไกลในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา หญิงสาวท่านหนึ่งกำลังตักน้ำขึ้นรดบนศรีษะของหญิงชรา พิธีนี้เรียกว่า Srong Peah เป็นการแสดงความนอบน้อมต่อบิดามารดา และขอขมาลาโทษในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกิน   ดูด้วยตา พิธีที่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่หากฟังด้วยใจ เรื่องราวเบื่องหลังภาพนี้มีที่มาชวนน้ำตาไหลที่ต้องย้อนกลับไปไกลกว่า 40 ปี ‘พี่น้องของฉันมีโอกาสทำพิธีนี้ได้ทุกวัน ...