กาชาดระหว่างประเทศ

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...
โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

โควิด-19 – โรคระบาดใหญ่อาจทำให้ความเครียดเพิ่มขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ

, บทความ / บล็อค

คงไม่ใช่เรื่องใหม่หากจะกล่าวว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ทั่วโลกเกิดความกังวลในหลายปัจจัย: ความกลัวต่อการติดเชื้อไวรัสและทำให้ทั้งครอบครัวป่วยเป็นโรค ความวิตกกังวลเกี่ยวกับมาตรการและการกักตัว ความทุกข์ที่ต้องห่างไกลจากสมาชิกครอบครัวที่เคยพบหน้า ความเครียดต่อภาวะหยุดชะงักของโลกที่อาจนำไปสู่ผลกระทบในระยะยาว ท่ามกลางเหตุผลมากมาย หลายชีวิตที่ต้องต่อสู้กับโรคร้ายไปพร้อมๆ สถานการณ์ความขัดแย้งที่ยังคุกรุ่น ความกังวลของพวกเขา อาจะเพิ่มเป็นเท่าทวีคูณ ICRC มีความกังวลว่าสถานการณ์ดังกล่าว อาจทำให้ความเครียดในแต่ละพื้นที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากและการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตของเรา ก็เป็นหนึ่งในเสาหลักเพื่อต่อสู้กับวิกฤตโควิด-19 นอกจากการปรับกิจกรรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน ICRC ยังได้ตั้งหน่วยความช่วยเหลือในด้านโควิด-19 ผ่านการทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อแบ่งปันวิธีการจัดการกับความเครียด ความกังวล และการถูกตีตรา รวมไปถึงการให้คำปรึกษาทางจิตใจต่ออาสาสมัครและบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานในแนวหน้า ...
ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

ปกป้องเรือนจำจากโควิด-19

, บทความ / บล็อค

การระบาดหนักของโรคโควิด-19 สร้างความตื่นตระหนกให้ผู้คนทั่วโลก จะเป็นอย่างไรถ้าโรคร้ายย่างกรายเข้าสู่เรือนจำ ? Elena Leclerc ผู้ประสานงานด้านสุขภาพเรือนจำของ ICRC เล่าให้เราฟังถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นหากโควิด-19 ระบาดเข้าสู่เรือนจำ สภาพแออัดประกอบกับระบบสาธารณสุขที่อาจไม่เพียงพอ คุณหมอ Elena มีความคิดเห็นอย่างไรกับสถานการณ์ในเรือนจำกว่า 50 ประเทศ ที่ ICRC ให้การสนับสนุน Q: ทำไมประชากรในเรือนจำถึงเป็นกลุ่มเสี่ยงสำหรับโควิด-19 A: ผู้คนในสถานที่คุมขังมักมีภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปราะบาง ...
จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

, บทความ / บล็อค

แม้กฎหมายจะห้าม แต่เมื่อเกิดการสู้รบและการขัดกันทางอาวุธ เด็กหลายคนยังคงถูกเกณฑ์ให้เป็นทหารและถูกใช้ให้ทำหน้าที่ต่างๆ โดยกลุ่มติดอาวุธที่บางกรณีถูกจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นโยบายและแนวปฏิบัติที่นำมาใช้เพื่อจัดการกับความรุนแรงอันสุดโต่งของกลุ่มดังกล่าว จะต้องปฏิบัติต่อเด็กที่ผ่านการนำเข้าร่วมในการสู้รบในฐานะที่พวกเขาเป็นเหยื่อผู้เสียหายก่อนเป็นสิ่งสำคัญที่สุดอันดับแรก โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าพวกเขามีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธอย่างไร แล้วจึงค่อยดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวเด็ก ช่วงปีที่ผ่านมา ประเด็นว่าด้วยการเกณฑ์เด็กเป็นทหารและใช้ให้ทำงานโดยกลุ่มติดอาวุธหลายกลุ่ม ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติหรือแต่ละรัฐจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” นั้น ได้เป็นประเด็นที่ผู้กำหนดนโยบายและสาธารณชนในวงกว้างให้ความสนใจมากขึ้น และที่สำคัญก็คือ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเองก็ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่จะต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษต่อการปฏิบัติต่อเด็กผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงผู้ที่กระทำการก่อการร้าย ตามที่ระบุไว้ในข้อมติ 2427 (2018) อีกทั้ง ...
สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เปิดเผยรายงานการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นมิลเลนเนียล 16000 คน ใน 16 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อสงครามและการสู้รบ โดยกลุ่มคนที่ทำการสอบถามมีอายุระหว่าง 20-35 ปี อาศัยอยู่ในประเทศที่มีและไม่มีสงคราม คือ อัฟกานิสถาน โคลัมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย อิสราเอล มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ปาเลสไตน์ รัสเซีย ...
หยุดการใช้อาวุธระเบิดในเมือง เลี่ยงความทุกข์ยากที่ไม่จำเป็นของประชาชนในพื้นที่สงคราม

หยุดการใช้อาวุธระเบิดในเมือง เลี่ยงความทุกข์ยากที่ไม่จำเป็นของประชาชนในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

นายอันโตนิโอ กูแตร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ และนายปีเตอร์ เมาเรอ ประธาน ICRC ออกแถลงการร่วมกันว่าด้วยการใช้อาวุธระเบิดในพื้นที่อยู่อาศัย เมือง Idlib ของซีเรีย และ เมือง Tripoli ของลิเบีย กำลังเผชิญการทิ้งระเบิด การกราดยิง และการโจมตีอย่างรุนแรงที่กำลังจะเปลี่ยนภาพเมืองที่เคยสดใส ให้กลายเป็นซากปรักหักพังแบบเดียวกับ Mosul, Aleppo, Raqqa, Taiz, ...
การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ

การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ

, E-Book

คู่มือปฏิบัติเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยในการประเมิน และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งมีผลกระทบ ต่อสุขภาพของผู้ถูกคุมขัง การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จะทำให้สามารถมองเห็นปัญหาหรือความบกพร่อง ในเรือนจำ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริหารในการดูแลสุขภาพของผู้ถูกคุมขังให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตามที่กฎหมายกำหนด คู่มือปฏิบัติเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการประเมินภาวะสุขภาพ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในสถานที่ คุมขังอย่างมีหลักการ ในประเด็นดังต่อไปนี้ ความหมายเกี่ยวกับสภาพพื้นฐาน – สุขภาพและสภาพความเป็นอยู่ – ของผู้ถูกคุมขังทั้งหมด การประเมินตามสถานการณ์ที่อาจเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การระบุประเด็นปัญหาสำคัญ นอกจากนี้การปฏิบัติตามแนวทางการประเมิน และการรายงานตามรูปแบบในคู่มือปฏิบัติเล่มนี้ยัง สามารถนำมาใช้เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างสถานที่คุมขังได้ด้วย การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ
ผู้ลี้ภัยในเลบานอนบอกเล่าเรื่องราวของพวกเขาผ่านเลนส์กล้อง

ผู้ลี้ภัยในเลบานอนบอกเล่าเรื่องราวของพวกเขาผ่านเลนส์กล้อง

, บทความ / บล็อค

ค่ายผู้ลี้ภัยอาจะเป็นโลกทั้งใบของหลายชีวิต เด็กรุ่นใหม่ใน Ein el-Hilweh ค่ายลี้ภัยในเลบานอนหันมาจับกล้องเพื่อสะท้อนเสียงของพวกเขาผ่านภาพถ่าย แคนนอน ยุโรปจับมือกับคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ออกโปรเจกต์น่าสนใจ ชวนวัยรุ่น 5 คน ที่อยู่ในสถานะผู้ลี้ภัย มาร่วมกันถ่ายภาพเล่าเรื่องชีวิตประจำวน เนื่องในวันมนุษยธรรมโลกที่เพื่งผ่านไปในวันที่ 19 สิงหาคม ภาพถ่ายของพวกเขาชวนให้เราตั้งคำถามกับชีวิต ความคิด และประสบการณ์ความเป็นอยู่ของผู้คนมากมายที่ใช้ชีวิตอยู่ใต้หมอกควันของสงคราม ฟาติมา เด็กสาววัย 19 ...
“ถ้าลูกชายผมกลับมามองเห็นได้ ผมจะดีใจที่สุดเลย”

“ถ้าลูกชายผมกลับมามองเห็นได้ ผมจะดีใจที่สุดเลย”

, บทความ / บล็อค

ลึกเข้าไปในฝั่งตรงข้ามประเทศเพื่อนบ้านเด็กชาวกะเหรี่ยงสองคนพบของเล่นประหลาด ด้วยความนึกสนุกตามประสา พวกเขาหยิบวัตถุชิ้นใหม่ขึ้นมา นำไปกระแทกเข้ากับตอไม้เข้าอย่างแรง เสียงระเบิดดังขึ้นในทันที เด็กชายวัย 9 ขวบเสียชีวิต เด็กชายวัย 7 ขวบ บาดเจ็บสาหัส ซอกูเต ยังมีลมหายใจ พ่อของเขาใช้เวลา 6 ชั่วโมงพาลูกชายตัวน้อยข้ามมายังโรงพยาบาลฝั่งไทย เด็กชายหายใจรวยรินแทบไม่รู้สึกตัว ร่างกายที่โชกไปด้วยเลือดทำให้คุณพ่อแทบใจสลาย “ตอนที่เจอลูก คิดว่าคงไม่รอดแล้ว แต่คุณหมอบอกว่าลูกยังมีชีวิต น่าจะส่งมาให้ทางโรงพยาบาลที่ไทยต่อ ...
#รู้หรือไม่ สิ่งแวดล้อมก็ได้รับการปกป้องจากกฎแห่งสงคราม

#รู้หรือไม่ สิ่งแวดล้อมก็ได้รับการปกป้องจากกฎแห่งสงคราม

, บทความ / บล็อค

ตั้งแต่ปี 1946-2010 ความขัดแย้งเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อประชากรสัตว์ป่าในหลายพื้นที่ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศไม่เพียงให้ความคุ้มครองชีวิตมนุษย์แต่ยังปกป้องสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ไม่ใช่เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อผู้คน แต่เพราะมูลค่าที่ยิ่งใหญ่ของสิ่งแวดล้อมต่อโลกทั้งใบ สงครามมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่ คำถามนี้คงตอบไม่ยาก แต่สงครามมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากแค่ไหน? คือคำถามที่เราจะพาไปหาคำตอบ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศห้ามใช้สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นอาวุธโจมตี รวมไปถึงการแทรกแซงทางธรรมชาติอย่างการใช้สารเคมีเพื่อทำลายสมดุลทางธรรมชาติของภูมิภาค หรือการตั้งใจโจมตีทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ยกตัวอย่างเช่น การระเบิดบ่อน้ำมันของฝ่ายตรงข้าม ทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมากกระจายเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ส่งผลกระทบต่อปศุสัตว์และสิ่งแวดล้อม เรื่องนี้อาจลามไปไกลถึงประเด็นก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน แม้สิ่งแวดล้อมจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย แต่หลายครั้งที่ผลเสียหายจากสงคราม ลามไปถึงสัตว์ป่าอย่างไม่ได้ตั้งใจ ในโมซัมบิกสงครามกลางเมือง 15 ...