Archive 

จดหมายกาชาด การเดินทางส่งข่าวแก่ครอบครัวผู้พลัดพราก

จดหมายกาชาด การเดินทางส่งข่าวแก่ครอบครัวผู้พลัดพราก

, บทความ / บล็อค

  ในหมู่บ้านชนบทอันห่างไกลของประเทศบุรุนดี ยังมีบรรดาผู้คนที่รอคอยฟังข่าวของสมาชิกในครอบครัวผู้ต้องพลัดพรากจากกันไปคนละทาง แม้ว่าจะอยุ่ห่างไกลสักเพียงใด ฌอง-พอล มเบนเซ อาสาสมัครกาชาดจากประเทศบุรุนดี ก็จะเดินทางนำจดหมายกาชาดจากผู้พลัดพรากไปส่งให้ถึงมือของญาติๆที่รอคอยข่าวสารอยู่อย่างใจจดใจจ่อ วันนี้เราจะมาดูเรื่องราวของการส่งข่าวประสานการติดต่อระหว่างสมาชิกครอบครัว ผ่านการถ่ายทอดของฌอง-พอล มเบนเซ ผู้เดินทางไปพร้อมกับจดหมายกาชาดและจักรยานคู่ใจของเขา  
อนุสัญญาเจนีวา 1949

อนุสัญญาเจนีวา 1949

, บทความ / บล็อค

อนุสัญญาเจนีวาเป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่มีสาระสำคัญในเรื่องกฎเกณฑ์ที่จำกัดวิธีการอันทารุณในการทำสงคราม  อนุสัญญานี้จะปกป้องคุ้มครองเหล่าผู้ที่มิได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสู้รบ (เช่น พลเรือน, บุคลากรทางการแพทย์ และ กลุ่มผู้ทำงานเพื่อการช่วยเหลือต่าง ๆ)  ซึ่งรวมทั้งผู้ที่ไม่สามารถร่วมการสู้รบได้อีกต่อไป (เช่น ทหารผู้บาดเจ็บ  เจ็บป่วย  ทหารเรืออัปปาง และ เชลยสงคราม) อนุสัญญาเจนีวานี้เป็นแกนสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ อันเป็นตัวบทกฎหมายระหว่างประเทศที่จำกัดวิธีการทำสงครามและการสู้รบ รวมทั้งยังมุ่งจำกัดผลกระทบของความขัดแย้งทางอาวุธอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวมา อนุสัญญาทั้งสี่ฉบับนี้จะคุ้มครองผู้ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการทำสงคราม และผู้ที่ไม่สามารถร่วมในการสู้รบได้อีกต่อไป  ตัวอนุสัญญาและ พิธีสารฉบับต่าง ...
จากเหยื่อภัยสงคราม สู่หัวใจที่ไม่ทุพพลภาพ

จากเหยื่อภัยสงคราม สู่หัวใจที่ไม่ทุพพลภาพ

, บทความ / บล็อค

คุณ เนอร์มา กอช  (Nirma Ghosh) หัวหน้าสำนักข่าวเสตรทส์ ไทมส์ ประจำพนมเปญเพิ่งกลับจากการเข้าเยี่ยมศูนย์ฟื้นฟูกายภาพของ ICRC ที่ กัมปงสเปอ ประเทศกัมพูชา พร้อมกับเรื่องราวของเหล่าผู้ประสบผลกระทบจากภัยสงคราม ชีวิตของพวกเขาเหล่านั้นได้ฟื้นคืนความหวังกลับมาอีกครั้ง การบาดเจ็บ และระบบบริการทางการแพทย์ที่เสียหายอย่างสิ้นเชิงจากภัยสงครามนั้น ทำให้สุภาพสตรีเหล่านี้ ต้องสูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพ  แม้กระนั้นก็ตามพวกเธอก็ไม่ได้อยู่ในสภาพของเหยื่อภัยสงครามอีกต่อไป ทั้งยังมีความหวังในชีวิตใหม่ที่ศูนย์ฟื้นฟูกายภาพแห่งนี้   ดิดิเยร์ คูร์มัน ...
รางวัลเหรียญฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ประจำปี 2013

รางวัลเหรียญฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ประจำปี 2013

, บทความ / บล็อค

เหรียญฟลอเรนซ์ไนติงเกลนับเป็นเกียรติประวัติอันยิ่งใหญ่แห่งงานพยาบาล ซึ่ง ICRC ได้มอบให้กับพยาบาลดีเด่น สำหรับความกล้าหาญและการอุทิศตนอย่างยอดเยี่ยม ในการช่วยเหลือเหยื่อจากความขัดแย้งทางอาวุธและภัยพิบัติธรรมชาติ เหรียญรางวัลฟลอเรนซ์ ไนติงเกลนี้ยังได้มอบให้เพื่อเป็นเกียรติแก่การทำงานที่เป็นแบบอันอย่างน่ายกย่อง และจิตวิญญาณแห่งการบุกเบิกอันสำคัญต่องานด้านสาธารณสุขและ การพยาบาลศาสตร์  โดยพยาบาลแต่ละท่านจะได้รับการเสนอชื่อมาจากกลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงในแต่ละประเทศ ซึ่งจะผ่านกระบวนการคัดเลือกจากคณะกรรมการอันประกอบไปด้วย ICRC, สหพันธ์สภากาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (IFRC) และ สภาการพยาบาลระหว่างประเทศ ในปีนี้ พยาบาลดีเด่นรวมทั้งสิ้น 32 คน จาก 16 ...
ICRC และกาชาดอเมริกันร่วมสานการติดต่อของสองพี่น้องหลังจาก 50 ปี แห่งการพลัดพราก

ICRC และกาชาดอเมริกันร่วมสานการติดต่อของสองพี่น้องหลังจาก 50 ปี แห่งการพลัดพราก

, บทความ / บล็อค

ด้วยความช่วยเหลือของกาชาดอเมริกัน และ ICRC   อีโฟเดีย ได้กลับมาอยู่พร้อมหน้ากับครอบครัวของเธอที่แอฟริกาใต้อีกครั้ง หลัง         จากต้องพลัดพรากจากกันกว่าครึ่งศตวรรษ ในปี 1962 อันเป็นปีที่ เนลสัน แมลเดลลา ถูกจำคุก   อีโฟเดีย โมคาเน ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในกองกำลังฝ่ายต่อต้านการแบ่งแยกสีผิวจำต้องพลัดพรากจากครอบครัว  อีโฟเดียต้องลี้ภัยอยู่ตามค่ายต่าง ๆ เช่น ...
การตอบสนองบนหลักของการไม่เลือกปฏิบัติในภาวะความรุนแรง

การตอบสนองบนหลักของการไม่เลือกปฏิบัติในภาวะความรุนแรง

, บทความ / บล็อค

ICRC ได้เร่งระดมความช่วยเหลือหลังจากความรุนแรงระหว่างชุมชนได้ปะทุขึ้นและส่งผลอย่างรุนแรงต่อประเทศเมียนมาร์ การสร้าง          หลักประกันในเรื่องความช่วยเหลือทางการแพทย์สำหรับเหล่าผู้พลัดถิ่นจากภัยความรุนแรงนั้นนับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง อเลน เอชลีมานน์    ผู้อำนวยการการปฎิบัติการภูมิภาคเอเชียของเรากล่าวขณะไปเยือนลอนดอน อเลน ได้ให้ความสำคัญต่อความตึงเครียดและความหวาดกลัวระหว่างชุมชนที่ยังดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง โดย อเลน ได้สรุปถึงความสำคัญของหลักประกันที่ว่า ความช่วยเหลือของ ICRC นั้นจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจำเป็น และจะไม่มีการเลือกปฎิบัิติต่อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการพิเศษ ทั้งนี้ เช่นเดียวกันกับความรุนแรงระหว่างชุมชนที่เกิดขึ้น ...
109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

, บทความ / บล็อค

ภาพ-เชลยสงครามชาวอิตาเลี่ยนในประเทศอินเดียในค่ายเชลยสงครามหมายเลข 2 รวมกลุ่มเล่นดนตรี (ประมาณปี 1939-1945 ) เมื่อ 109 ปีที่แล้วในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 คณะกรรมการกาชาดระหว่างแระเทศ (ICRC) เข้าเยี่ยมผู้ต้องขังในเอเชียครั้งแรกในเอเชีย ในครั้งนั้น คณะผู้แทน ICRC เข้าเยี่ยมเชลยสงครามในอินเดีย และพม่าซึ่งณ เวลานั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ โดยแบ่งเป็นค่ายกักขังในอินเดีย 6 ที่ ...
น้ำ-งานประจำของทีมน้ำและที่อยู่อาศัย

น้ำ-งานประจำของทีมน้ำและที่อยู่อาศัย

, บทความ / บล็อค

การสู้รบและความรุนแรงนั้นได้พรากการเข้าถึงแหล่งน้ำไปจากผู้คน สิ่งนี้เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก  หน่วยงาน “น้ำและที่อยู่อาศัย” (WATHAB) ของ ICRC กำลังร่วมมือกับชุมชนต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อที่จะจัดหาน้ำให้กับเมืองต่าง ๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤต หากจะกล่าวว่าความจริงเป็นเหยื่อรายแรกของสงคราม น้ำนั้นก็นับได้ว่าเป็นเหยื่อรายที่สอง  ไม่ว่าจะเป็นบ่อน้ำ ท่อส่งน้ำ และ ปั๊มน้ำในเมืองและตามหมู่บ้านต่าง ๆ ล้วนเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบของการสู้รบ   ในกรณีของเมืองใหญ่ หากมีท่อประปาเสียหายเพียงหนึ่งท่อ ...
เซาท์ซูดาน ประเทศใหม่ ก้าวทันระบบสากล

เซาท์ซูดาน ประเทศใหม่ ก้าวทันระบบสากล

, บทความ / บล็อค

หลังจากที่ประกาศอิสรภาพได้ไม่นาน และหลังจากสงครามกลางเมืองหลายทศวรรษ ประเทศที่”ใหม่”ที่สุดในโลกก็เริ่มสร้างประเทศ    อย่างเป็นระบบและรวดเร็วเพื่อในทันโลก หนึ่งในประเด็นที่สำคัญที่รัฐบาลสาธารณรัฐเซาท์ซูดานให้ความสำคัญคือกฏหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือ IHL) ในมุมมองของกองทัพเซาท์ซูดานการที่ทหารมีความรู้เรื่องกฏหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และเคารพปฏิบัติตามนั้น เป็นการบ่งบอกว่ากองทัพนั้นเป็นมืออาชีพ Lt. Colonel Albino Awan จากกองทัพเซาท์ซูดาน และผู้ดูแลการอบรมครั้งที่ผ่านมาให้สัมภาษณ์ว่า: “จุดประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้เพื่อให้ทหารทุกนายตระหนักว่ากองทัพเซาท์ซูดานกำลังเป็นมืออาชีพ (professional) มากขึ้นตามมาตราฐานสากล ผมดีใจที่ทหารมีความสุข ...
ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

, บทความ / บล็อค

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (1914-1918) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาสงคราม” เป็นครั้งแรกของการทำสงครามในรูปแบบใหม่ ในสเกลใหญ่ โดยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น รถถัง เครื่องบินรบ และอาวุธเคมี ในการสู้รบที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั่วโลก ความเสียหายทางชีวิตและทรัพย์สินก็อยู่ในระดับประวัติการณ์ ประชากร (พลเรือนและทหาร) กว่า 37 ล้านคนเสียชีวิต ไม่นับผู้คนที่ได้รับบาดเจ็บ อีกเป็นจำนวนมาก ณ ตอนนั้นนอกจากจะมีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนสมรภูมิรบแล้ว คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ...