IHL

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

, บทความ / บล็อค

เส้นทางสู่การ ‘ร่วมพลังกับการดำเนินงานด้านมนุษยธรรม‘ เมื่อมีการหยิบยกข้อโต้แย้งขึ้นมาว่า เราจะต้องคำนึงถึงศาสนา เพศ เชื้อชาติ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ของผู้ได้รับผลกระทบเพื่อให้เราปรับเปลี่ยนการดำเนินการด้านมนุษยธรรมหรือไม่ คำตอบที่พบบ่อยสุดคือ วิธีการดังกล่าวนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อหลักการด้านมนุษยธรรม ยกตัวอย่างเช่น เมื่อพูดถึงเรื่องความไม่ลำเอียง (impartiality) การวิเคราะห์เช่นนี้ได้แยกให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติบนฐานของเชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกันและไม่ควรเหมือนกันอย่างไร ไม่ใช่แค่การมองเห็นเรื่องของ ‘เชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ...
ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

ภาพยนตร์สงครามนิวเคลียร์: ประวัติความเป็นมาของการทำลายล้างทั้งหมดบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

75 ปี ผ่านไปหลังระเบิดปรมาณูลูกแรกถูกใช้เพื่อถล่มเมืองฮิโรชิมะจนราบเป็นหน้ากลอง ทุกวันนี้ผลกระทบของระเบิดยังคงเป็นที่พูดถึง ความกลัวต่อสงครามนิวเคลียร์ที่อาจเกิดขึ้นยังคงติดอยู่ในใจและไม่ว่าสงครามเย็นจะจบไปกว่า 20 ปี กำแพงเบอร์ลิน – สัญลักษณ์ของการต่อสู้ระหว่างสองขั้วอำนาจถูกทำลาย ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ถึงอย่างนั้น โลกหลังสงครามนิวเคลียร์และผลกระทบอันเลวร้ายหากอาวุธที่ว่าถูกนำมาใช้ ยังคงได้รับการเล่าขานและตีความต่อไปผ่านแผ่นฟิล์ม วันนี้เราได้ลองรวมรวมภาพยนต์ที่เล่าถึงหายนะของโลกหลังสงครามนิวเคลียร์ การตีความของผู้กำกับแต่ละท่านอาจให้ภาพต่างกันไป แต่สิ่งที่ทุกท่านเห็นร่วมกัน คือวันโลกาวินาศคงมาถึงในทันทีหากมีการใช้ระเบิดที่ว่าระเบิดในสักวัน Dr. Strangelove or: How ...
เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

เมื่อมองไม่เห็น ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ใจหรือไม่? ว่าด้วยเรื่องกลุ่มคนข้ามเพศในภาวะฉุกเฉินด้านมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

คนข้ามเพศและคนอื่น ๆ ในกลุ่มชนกลุ่มน้อยทางเพศภาวะและเพศสรีระทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับการถูกกระทำความรุนแรงและการเลือกปฏิบัติมากกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ในสังคม ซึ่งวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม เช่น วิกฤตความขัดแย้ง ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นขนานใหญ่ มีแนวโน้มทำให้ภาวะความเปราะบางที่คนข้ามเพศจำต้องเผชิญนั้นขยายเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ทว่าอัตลักษณ์ทางตัวตน ซึ่งเป็นลักษณะที่ทำให้พวกเขาต้องตกเป็นเหยื่อในตอนแรกนั้น ก็ยังคงเป็นสิ่งที่กีดกันไม่ให้พวกเขาได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองวันสนับสนุนสิทธิของกลุ่มคนข้ามเพศสากล (International Day of Transgender Visibility) บทความฉบับนี้จึงวิเคราะห์ถึงสาเหตุต่าง ๆ ...
โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

โควิด-19 – โรคระบาด ความขัดแย้งและความรุนแรงทางเพศ

, บทความ / บล็อค

ความรุนแรงทางเพศมักเป็นผลกระทบจากสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ความรุนแรง ภัยธรรมชาติ หรือแม้แต่ภาวะโรคระบาดอย่างโควิด-19 ในภาวะเหล่านี้ นอกจากผู้ได้รับผลกระทบจะต้องเผชิญกับความยากลำบากทางมนุษยธรรมไม่ว่าจะเป็นเรื่องน้ำ อาหาร ยารักษาโรค ความปลอดภัยหรือแม้แต่ปัญหาเรื่องเศรฐกิจและรายได้ อีกหนึ่งประเด็นที่มักเกิดขึ้นตามมาคือปัญหาด้านครอบครัวและสังคมอย่างการใช้กำลัง การถูกทอดทิ้ง การเอารัดเอาเปรียบทางเพศ การเลือกปฎิบัติ และการทารุณกรรม ข่าวร้อนจากทั่วโลกเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าภาวะโรคระบาดไม่เพียงเพิ่มความเสี่ยง แต่ยังเป็นต้นเหตุให้การคุกคามทางเพศ และความรุนแรงทางเพศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ จากประเทศจีนไปจนถึงสหราชอาณาจักรรวมไปถึงประเทศอื่นๆ ระหว่างทาง มีรายงานว่าสายด่วนเพื่อให้ความช่วยเหลือเรื่องความรุนแรงในบ้านต้องรับเคสกันหนักขึ้นถึง 60-700% ในแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีถึงขั้นกล่าวว่า ...
การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

การรับมือกับ COVID-19 ในเขตการสู้รบ ขึ้นอยู่กับการเคารพกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ / บล็อค

ในการร่วมกันรับมือของเราต่อสถานการณ์ COVID-19 ในเขตการสู้รบนั้น การปฏิบัติตามบทบัญญัติสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ คือสิ่งสำคัญจำเป็น เพื่อให้ความต้องการของชุมชน ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ และหน่วยงานรัฐ ในห้วงเวลาอันยากลำบากเป็นประวัติการณ์นี้ ได้รับการสนองตอบอย่างเพียงพอและเหมาะสม เราทุกคนต่างกำลังเผชิญกับสถานการณ์วิกฤตร่วมกันทั่วโลก และ COVID-19 ไม่ได้สนใจเรื่องพรมแดนระหว่างประเทศหรือคำนึงถึงผู้มีอำนาจหรือความมั่งคั่ง แต่กระนั้น แม้ไวรัสจะเดินทางไปแพร่เชื้อให้ทุกคนในทุกหนแห่งโดยไม่เลือกหน้า แต่ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ของไวรัสชนิดนี้กลับไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน พลเรือนที่ติดอยู่ท่ามกลางการสู้รบ ไม่ว่าจะเป็นผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก รวมทั้งผู้พลัดถิ่นจากสถานการณ์ความรุนแรงและผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศที่ จากการสู้รบ ...
เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

เราไม่ได้ทำ ‘สงคราม’ กับ โควิด-19: ข้อกังวลจาก ‘แนวหน้า’ ในอิตาลี

, บทความ / บล็อค

ไม่นานนักหลังโควิด-19 ย่างเท้าเข้าสู่ยุโรปและอเมริกา นักการเมือง นักวิชาการ กระทั่งนักข่าวและสื่อต่างๆ ต่างพากันบรรยายความอันตรายของเชื้อไวรัสตัวใหม่โดยใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการทำสงคราม ‘เรากำลังทำสงครามกับโคโรน่าไวรัส’ อาเดรียโน ลาเรีย ผู้สนับสนุนด้านมนุษยธรรมและเพื่อนร่วมงานของเราในกาชาดอิตาลี ชูประเด็นนี้โดยกล่าวว่าการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสงคราม อาจตามมาด้วยผลเสียมากกว่าที่คิด เพราะอาจส่งผลกระทบไปไกลถึงปฎิบัติการจริงในแนวหน้าของสงครามและความขัดแย้ง ภาพความจริงอาจดูจางเมื่อพูดผ่านความทรงจำ โถงทางเดินในโรงพยาบาลเต็มไปด้วยเตียงผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โลงศพวางเรียงกันเป็นแถว แต่ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้สำหรับไว้อาลัย แพทย์ในชุดอุปกรณ์ป้องกันเต็มรูปแบบ กำลังทรุดตัวลงนั่งกับกำแพงเพราะความเหนื่อยล้า อิตาลีเป็นประเทศแรกๆ ที่ประสบชะตากรรมเลวร้ายจากโควิด-19 และเรามักได้รับการเรียกขานซ้ำๆ ว่าเป็น ...
กักตัววันนี้มีหนังดูหรือยัง? 10 หนังน่าสนใจที่ช่วยให้เราเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรมผ่านเรื่องเล่าบนแผ่นฟิล์ม

กักตัววันนี้มีหนังดูหรือยัง? 10 หนังน่าสนใจที่ช่วยให้เราเข้าใจกฎหมายมนุษยธรรมผ่านเรื่องเล่าบนแผ่นฟิล์ม

, บทความ / บล็อค

ไม่ว่าจะย้อนไปไกลหลายร้อยปี หรือเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นหมาดๆ สงครามและความขัดแย้งก็เป็นสิ่งที่อยู่เคียงคู่มนุษยชาติมาหลายยุคหลายสมัย ทราบหรือไม่ว่า หนังเกี่ยวกับสงครามเรื่องแรกที่ถูกผลิตออกฉาย เป็นหนังโฆษณาชวนเชื่อความยาวเพียง  90 วินาที ผลิตโดยบริษัท Vitagraph เรื่อง Tearing Down the Spanish Flag (1898)  ซึ่งปรากฎว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะเป็นช่วงที่สหรัฐอเมริกา กำลังทำสงครามกับสเปนอยู่พอดี  (Spanish-American War – Apr 21, ...
*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

*SPOILERS* ยิงวัว ช่วยศัตรู ทุ่งศพทหาร หาก 1917 เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฉากไหนในหนังที่ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ?

, บทความ / บล็อค

เมื่อพูดถึงหนังสงครามหลังศตวรรษที่ 20 ไม่ต้องสงสัยว่าสงครามโลกครั้งที่ 2 คือเหตุการณ์ที่ถูกนำมาเล่าซ้ำบ่อยที่สุด ไม่บ่อยนักที่ภาพลักษณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1 ถูกจับมาเป็นประเด็นในหนังเรื่องเด่นที่กลายเป็นกระแสไปทั่วโลก 1917 ของผู้กำกับ แซม เมนเดส บอกเล่าความสิ้นหวังของการรบในสนามเพลา ผ่านการต่อสู้ที่ดูเหมือนจะไร้ความหมาย และความไม่รู้ของสองตัวละครหนุ่มที่ได้รับหน้าที่สำคัญ นำจดหมายไปส่งเพื่อยกเลิกปฎิบัติการที่อาจนำมาซึ่งความตายของทหารอีกหลายพัน หลายคนตั้งข้อสงสัย ถ้าเรื่องนี้เกิดในปัจจุบัน หนังคงจบตั้งแต่ 5 นาที เพราะมีโซเชียลมีเดียและวิธีติดต่อสื่อสารมากมาย แต่ถ้าว่ากันด้วยกฎหมาย ...
จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

จากเด็กผู้ถูกเกณฑ์เป็นทหาร สู่ “เด็กผู้ก่อการร้าย”: พิทักษ์สิทธิความเป็นผู้บริสุทธิ์จากกระบวนการต่อต้านก่อการร้าย

, บทความ / บล็อค

แม้กฎหมายจะห้าม แต่เมื่อเกิดการสู้รบและการขัดกันทางอาวุธ เด็กหลายคนยังคงถูกเกณฑ์ให้เป็นทหารและถูกใช้ให้ทำหน้าที่ต่างๆ โดยกลุ่มติดอาวุธที่บางกรณีถูกจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นโยบายและแนวปฏิบัติที่นำมาใช้เพื่อจัดการกับความรุนแรงอันสุดโต่งของกลุ่มดังกล่าว จะต้องปฏิบัติต่อเด็กที่ผ่านการนำเข้าร่วมในการสู้รบในฐานะที่พวกเขาเป็นเหยื่อผู้เสียหายก่อนเป็นสิ่งสำคัญที่สุดอันดับแรก โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าพวกเขามีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธอย่างไร แล้วจึงค่อยดำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวเด็ก ช่วงปีที่ผ่านมา ประเด็นว่าด้วยการเกณฑ์เด็กเป็นทหารและใช้ให้ทำงานโดยกลุ่มติดอาวุธหลายกลุ่ม ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติหรือแต่ละรัฐจัดว่าเป็น “กลุ่มผู้ก่อการร้าย” นั้น ได้เป็นประเด็นที่ผู้กำหนดนโยบายและสาธารณชนในวงกว้างให้ความสนใจมากขึ้น และที่สำคัญก็คือ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเองก็ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่จะต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษต่อการปฏิบัติต่อเด็กผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงผู้ที่กระทำการก่อการร้าย ตามที่ระบุไว้ในข้อมติ 2427 (2018) อีกทั้ง ...
73% ของคนยุค Millennials ใน 15 ประเทศ เน้นย้ำความสำคัญของการมีสุขภาพจิตที่ดี ว่ามีความจำเป็นเช่นเดียวกับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย

73% ของคนยุค Millennials ใน 15 ประเทศ เน้นย้ำความสำคัญของการมีสุขภาพจิตที่ดี ว่ามีความจำเป็นเช่นเดียวกับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย

, News / บล็อค / ไทย

เจนีวา (ICRC) เกือบ 3 ใน 4 ของคนยุค millennials (กลุ่มคนที่มีอายุตั้งแต่ 18-35 ปี) ระบุผ่านแบบสอบถามใน 15 ประเทศ เห็นว่าสุขภาพจิตที่ดี มีความจำเป็นมากเท่าๆ กับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย สำหรับผู้ได้รับผลกระทบจากสงครามและความรุนแรง อิปซอสส์ (Ipsos) ...