กลุ่มองค์กรกาชาด

หยุดการใช้อาวุธระเบิดในเมือง เลี่ยงความทุกข์ยากที่ไม่จำเป็นของประชาชนในพื้นที่สงคราม

หยุดการใช้อาวุธระเบิดในเมือง เลี่ยงความทุกข์ยากที่ไม่จำเป็นของประชาชนในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

นายอันโตนิโอ กูแตร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ และนายปีเตอร์ เมาเรอ ประธาน ICRC ออกแถลงการร่วมกันว่าด้วยการใช้อาวุธระเบิดในพื้นที่อยู่อาศัย เมือง Idlib ของซีเรีย และ เมือง Tripoli ของลิเบีย กำลังเผชิญการทิ้งระเบิด การกราดยิง และการโจมตีอย่างรุนแรงที่กำลังจะเปลี่ยนภาพเมืองที่เคยสดใส ให้กลายเป็นซากปรักหักพังแบบเดียวกับ Mosul, Aleppo, Raqqa, Taiz, ...
การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ

การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ

, E-Book

คู่มือปฏิบัติเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยในการประเมิน และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งมีผลกระทบ ต่อสุขภาพของผู้ถูกคุมขัง การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จะทำให้สามารถมองเห็นปัญหาหรือความบกพร่อง ในเรือนจำ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริหารในการดูแลสุขภาพของผู้ถูกคุมขังให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตามที่กฎหมายกำหนด คู่มือปฏิบัติเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการประเมินภาวะสุขภาพ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในสถานที่ คุมขังอย่างมีหลักการ ในประเด็นดังต่อไปนี้ ความหมายเกี่ยวกับสภาพพื้นฐาน – สุขภาพและสภาพความเป็นอยู่ – ของผู้ถูกคุมขังทั้งหมด การประเมินตามสถานการณ์ที่อาจเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การระบุประเด็นปัญหาสำคัญ นอกจากนี้การปฏิบัติตามแนวทางการประเมิน และการรายงานตามรูปแบบในคู่มือปฏิบัติเล่มนี้ยัง สามารถนำมาใช้เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างสถานที่คุมขังได้ด้วย การดูแลสุขภาพในสถานที่คุมขัง-คู่มือปฏิบัติ
เสียงที่มองเห็น –  ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

เสียงที่มองเห็น – ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

, บทความ

“ผมอายุ 33 ไม่เคยขึ้นเครื่องบินมาก่อน” Abdel Rahman Zagout ช่างภาพชาวปาเลสไตน์เอาชนะรางวัลประกวดภาพถ่ายของ ICRC ประจำปี 2018 ด้วยเซ็ทภาพวาดที่บอกเล่าเรื่องราวของวัยรุ่นในกาซ่า เป็นเวลาร่วม 10 ปี ที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยความขัดแย้งที่ส่งผลโดยตรงต่อสภาพเศรฐกิจ นักศึกษาจบใหม่กว่า 70 กลายเป็นคนตกงานในทันทีในขณะที่ บางส่วนเลือกเดินทางข้ามชายแดนไปตามหาอนาคตใหม่ในประเทศอียิปต์ ภาพถ่ายของ Zagout สะท้อนความฝันของวัยรุ่นที่เกิดและเติบโตท่ามกลางความขัดแย้งด้วยถ้อยคำที่ดังฟังชัด Reference: ...
หนึ่งเดือนหลังเขื่อนแตก – ภาพถ่าย เรื่องเล่า กำลังใจ และ ชีวิตที่ต้องดำเนินไปของผู้ประสบภัยใน สปป.ลาว

หนึ่งเดือนหลังเขื่อนแตก – ภาพถ่าย เรื่องเล่า กำลังใจ และ ชีวิตที่ต้องดำเนินไปของผู้ประสบภัยใน สปป.ลาว

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

คืนวันที่ 23 กรกฎาคม 2561 การพังลงของเขื่อนเซเปียน-เซน้ำน้อย ทำให้มวลน้ำกว่า 5 พันล้านลูกบาศก์เมตรทะลักเข้าท่วม 6 หมู่บ้าน ในแขวงอัตตะปือ ทางตอนใต้ของ สปป.ลาว จนถึงตอนนี้มีรายงานผู้เสียชีวิต 39 ...
The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

The Face of ICRC: ภารกิจตามรักคืนใจในซูดานใต้

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ลูกคือดวงใจของพ่อแม่’ ไม่ว่าจะในชาติใด วัฒนธรรมไหน ประโยคนี้ก็ยังเป็นจริงอยู่เสมอ ทุกวันนี้ยังมีครอบครัวอีกมาก ที่ต้องพลัดพรากจากกันเพราะภัยสงครามหรือความยากลำบาก การพาสมาชิกครอบครัวที่สูญหายให้ได้กลับมาเจอกัน เป็นหนึ่งในงานที่พวกเราชาว ICRC ภูมิใจ และนี่คือบทสนทนาระหว่างเรากับ พี่แอร์ – รัตนาภรณ์ พุ่มมั่น ...
จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

จากยูเครนตะวันออกสู่ชีวิตใหม่ในรัสเซีย

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ICRC เริ่มให้ความช่วยเหลือผู้ลี้ภัยทางตะวันออกของประเทศยูเครนตั้งแต่ปี 2014 มีครอบครัวชาวยูเครนจำนวนมากตัดสินใจอพยพลี้ภัยความรุนแรงมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ทางตอนใต้ในประเทศรัสเซีย การทิ้งบ้านและชีวิตที่คุ้นเคยไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ความปลอดภัยของครอบครัวเป็นของมีค่าราคาแพงที่พวกเขายอมเสี่ยงทุกอย่างเพื่อแลกมา สามปีผ่านไป ชีวิตของพวกเขาเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง? นาตาเลีย, วาเซลี่ และ ลูบอฟ จะเป็นตัวแทนบอกเล่าเรื่องราวให้พวกเราได้รับรู้ นาตาเลีย ก่อนยูเครนจะเข้าสู่ความขัดแย้งอย่างปัจจุบัน ...
Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

Lost on the road: ชีวิตที่หายไปของผู้อพยพในทวีปอเมริกา

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

500,000 คือจำนานผู้อพยพที่เดินทางจากประเทศต่างๆ มายังแม็กซิโกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า แต่ไม่มีใครรู้ว่า ท่ามกลางผู้คนมากมาย มีใครบ้างที่ไปถึงหรือไม่ถึงจุดหมายที่ตั้งใจ… เพื่อติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง Kathryn Cook-Pellegrin ช่างภาพของ ICRC เริ่มโปรเจคพิเศษที่จะนำเรื่องราวจากท้องถนน มาให้คนทางบ้านได้อย่างเราๆ ได้เข้าใจ ทุกวันนี้มีบุคคลพลัดถิ่นจากเหตุความไม่สงบในพิ้นที่ต่างๆ ...
3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

3 นาทีแสนมีค่า: ปฎิบัติการพิเศษเพื่อติดต่อสมาชิกครอบครัวที่พลัดพรากจากความไม่สงบในคองโก

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ทุกวันนี้เหตุความไม่สงบในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกพลักดันให้ประชากรหลายพันครัวเรือนต้องอพยพหนีความวุ่นวายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ปัจจุบันมีชาวคองโกจำนวนมากอาศัยอยู่ในเมือง Lunda Norte ในประเทศแองโกล่า หลายครอบครัวไม่มีโอกาสกล่าวคำอำลา และไม่รู้เลยว่าครอบครัวของตนยังมีชีวิตอยู่หรือไม่  ไม่นานมานี้ ICRC และกาชาดแองโกล่าได้เริ่มปฎิบัติการพิเศษในค่ายลี้ภัยเพื่อให้ผู้อพยพได้มีโอกาสติดต่อกับสมาชิกครอบครัวที่ประเทศคองโกอีกครั้ง ‘เวลาเพียงแค่ไม่กี่นาทีสามารถสร้างรอยยิ้มให้ใครหลายคนได้อีกหลายวัน เพราะวินาทีนั้นพวกเขาได้รู้ว่าคนที่ตนรักยังมีชีวิตอยู่’ นี่เป็นครั้งแรกที่ Maria Nganza ...
25 ปี ทุ่นระเบิดสังหาร มรดกสงครามในประเทศกัมพูชา

25 ปี ทุ่นระเบิดสังหาร มรดกสงครามในประเทศกัมพูชา

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

Tith Pao ในวัย 45 ปี ดูเป็นผู้ชายที่มีความสุข เขาเป็นทั้งชาวนาที่ประสบความสำเร็จ มีที่นาเป็นของตัวเอง และเป็นพ่อที่น่าเคารพในสายตาภรรยาและลูกๆ ใครจะรู้ว่าย้อนกลับไป 25 ปี ชายท่าทางใจดีตรงหน้า เคยเป็นเหยื่อทุ่นระเบิดสังหารจนต้องเสียเท้ากลายเป็นคนพิการตั้งแต่อายุ 20 ...
‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

‘ลูกรัก แม่ยังมีชีวิตอยู่’

, กลุ่มองค์กรกาชาด / บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ที่หมู่บ้านห่างไกลในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา หญิงสาวท่านหนึ่งกำลังตักน้ำขึ้นรดบนศรีษะของหญิงชรา พิธีนี้เรียกว่า Srong Peah เป็นการแสดงความนอบน้อมต่อบิดามารดา และขอขมาลาโทษในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกิน   ดูด้วยตา พิธีที่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ แต่หากฟังด้วยใจ เรื่องราวเบื่องหลังภาพนี้มีที่มาชวนน้ำตาไหลที่ต้องย้อนกลับไปไกลกว่า 40 ปี ‘พี่น้องของฉันมีโอกาสทำพิธีนี้ได้ทุกวัน ...