กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประะเทศ

ความทรงจำของนักมนุษยธรรม

ความทรงจำของนักมนุษยธรรม

, บทความ / บล็อค

เคยสงสัยบ้างไหมว่า มันจะต้องใช้อะไรบ้างเพื่อที่จะทำงานในองค์กรเพื่อมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสามครั้งด้วยกัน  และเป็นองค์กรที่ทำงานมาแล้วถึง 150 ปี พร้อม ๆ กับเหล่าเจ้าหน้าที่กว่า 93,000 คน ผู้อุทิศตัวในการให้ความช่วยเหลือแก่บรรดาผู้คน ที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งในกว่า 90 ประเทศ เราไปพาคุณไปค้นหาคำตอบจากประสบการณ์ในการทำงานของคุณเซดริก พิรัลล่า หัวหน้าสำนักงานย่อยไอซีอาร์ซีประจำเชียงใหม่ ที่เพิ่งจะเกษียณอายุไปเมื่อไม่นานมานี้ “ความมุ่งมั่นและภาระหน้าที่” คือคำนิยามของเซดริก พิรัลลา หัวหน้าสำนักงานย่อยไอซีอาร์ซีประจำเชียงใหม่   ...
สัมมนา IHL และอาวุธสมัยใหม่

สัมมนา IHL และอาวุธสมัยใหม่

, บทความ / บล็อค

ไอซีอาร์ซีสำนักงานภูมิภาคประจำกรุงเทพฯ จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “อาวุธและผู้มีส่วนร่วมในการขัดกันด้วยอาวุธตามกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ” เมื่อวันที่ 12 พ.ย. 2557   โดยมีนายทหารจากกรมพระธรรมนูญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศในยามสงครามจากทั้งสามเหล่าทัพเข้าร่วมงานสัมมนา โดยมีคุณเบอาต ชไวเซอร์ผู้อำนวยการสำนักงานไอซีอาร์ซีฯ พร้อมด้วยตัวแทนจากกรมพระธรรมนูญเข้าร่วมเป็นประธานในพิธีกล่าวเปิดงาน โดยงานนี้มุ่งเน้นการทบทวนและเสริมสร้างความเข้าใจในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และกฎเกณฑ์แห่งสงคราม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมการสัมมนาได้หารือถึงปัญหา และความท้าทายใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในบริบทความขัดแย้งทางอาวุธในยุคปัจจุบัน ซึ่งเรามักจะเห็นการใช้อาวุธยุทโธปกรณ์จากเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น อากาศยานไร้คนขับ หรือ ที่เราเรียกกันว่า ...
วีดีโอเกม และกฎเกณฑ์แห่งสงคราม

วีดีโอเกม และกฎเกณฑ์แห่งสงคราม

, บทความ / บล็อค

สงครามบรรจุกล่องเพื่อความบันเทิงนั้นดึงดูดผู้คนทั่วโลกทั้งเด็กและผู้ใหญ่ให้ต่างต้องพากันหลงใหลและติดใจ   สำหรับทางการทหารแล้ว วีดีโอเกมแนวสู้รบจากมุมมองบุคคลที่หนึ่งหรือที่รู้จักกัน ในนาม FPS (first-person shooter) นี้นับเป็นอุปกรณ์ที่ดียิ่งสำหรับนำมาใช้ในการฝึกฝน   ในการนี้ ICRC ได้เริ่มทำงานร่วมกับบริษัทผู้พัฒนาวีดีโอเกม เพื่อทำให้บรรดาผู้เล่นเกมเหล่านั้นได้พบกับภาวะปัญหาการตัดสินใจที่เหล่าทหารในชีวิตจริงต้องเผชิญ ICRC มีความวิตกกังวลว่าฉากบางฉากในเกมนั้นอาจจะทำให้เกิดพฤติกรรมความชาชินต่อการละเมิดกฎเกณฑ์แห่งการทำสงคราม ซึ่งเกรงว่าท้ายที่สุดการกระทำผิดกฎเหล่านี้ เช่นการทรมาน การจงใจโจมตีใส่พลเรือน การฆ่าเชลยสงครามหรือผู้บาดเจ็บ การโจมตีใส่ยานพาหนะ เช่น รถพยาบาล หรือสิ่งปลูกสร้างและเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ จะถูกมองว่าเป็นพฤติกรรมที่ยอมรับได้ ...