กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประะเทศ

ปฏิบัติการทางไซเบอร์กับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ บทสรุปที่ ICRC ได้รับจากการหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี

ปฏิบัติการทางไซเบอร์กับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ บทสรุปที่ ICRC ได้รับจากการหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี

, บทความ / บล็อค

ปฏิบัติการทางไซเบอร์กับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ บทสรุปที่คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross – ICRC) ได้รับจากการหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การโจมตีทางไซเบอร์และผลที่ตามมากำลังเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจจากทั่วโลก ปฏิบัติการทางไซเบอร์ เช่น WannaCry NotPetya หรือการโจมตีโครงข่ายไฟฟ้าในประเทศยูเครน กระทบต่อการให้บริการที่จำเป็นแก่พลเรือน และยังชี้ให้เห็นถึงช่องโหว่ของการให้บริการดังกล่าวภายใต้การโจมตีทางไซเบอร์ เมื่อหกเดือนที่ผ่านมาในที่ประชุมผู้เชี่ยวชาญ พวกเราเริ่มบทสนทนาในหัวข้อเรื่องปฏิบัติการทางไซเบอร์กับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ ในวันนี้เรายินดีนำเสนอรายงานของ ICRC ...
จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

, บทความ / บล็อค

ในช่วงต้นศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด บรรดาวิศวกรผู้เปี่ยมด้วยจิตนาการจากประเทศฝรั่งเศสตลอดจนสหรัฐอเมริกา ต่างมุ่งหวังให้สิ่งประดิษฐ์ของตนเป็นเครื่องมือยับยั้งการก่อสงคราม ยับยังความสูญเสียมหาศาลที่อาจจะตามมาในภายหลัง อย่างไรก็ดี ตลอดช่วงระยะเวลาสี่ปีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความมุ่งหวังดังกล่าวกลับไม่เป็นดั่งใจเมื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถูกนำมาประยุกต์ใช้ในปฏิบัติการณ์ทางทหาร การคิดค้นพัฒนาอาวุธร้ายแรง ตลอดจนความเคลือบแคลงว่ต่อประเทศต่างๆ ว่าจะสามารถยืนหยัดในคุณค่าและหลักการของประเทศตนในยามรบกลายเป็นบทเรียนใหญ่ที่โลกทั้งใบต่างได้รับ จริงหรือไม่ที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งแสดงให้เห็นว่าหลักศีลธรรม รวมถึงหลักการตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ค.ศ.​1868 หรืออนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1899 และ 1907) ที่นำมาใช้เป็นเหตุผลในการต่อต้านการใช้อาวุธที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ถูกมองข้ามในยามที่ประเทศต้องเผชิญภาวะวิกฤต ค.ศ.1914-1918 กับการนำทฤษฎีความสัมพันธ์มาใช้อธิบายปรากฏการณ์ที่อาวุธชนิดใหม่กลายเป็นที่ยอมรับในสังคม ...
Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

, บทความ / บล็อค

“Taking the law out of the books” คือประโยคสั้นๆ อธิบายการแข่งขันด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศของ ICRC ที่เรียกกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Jean-Pictet Competition งานที่ว่าจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นเวทีสำหรับนักเรียนกฎหมายรุ่นใหม่ ให้ได้ลองใช้ความรู้ด้านกฎหมาย ในการว่าความร่วมกับผู้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ สิริกมล สุรทิณฑ์ (แป้ง), สาริสา ทีฆตระกูล (แอ๊นท์) และ ...
มองในมุมกฎหมาย ใครคืออาชญากรสงครามตัวร้ายที่สุดจาก Game of Thrones?

มองในมุมกฎหมาย ใครคืออาชญากรสงครามตัวร้ายที่สุดจาก Game of Thrones?

, บทความ / บล็อค

ฟังดูน่าอิจฉา เพื่อนร่วมงานของเราจากกาชาดออสเตรเลีย ใช้เวลาร่วม 6 สัปดาห์ในการดูย้อนหลังซีรีย์ดัง Game of Thrones เพื่อหาคำตอบว่าใครคือวายร้ายตัวใหญ่ที่ละเมิดกฎแห่งสงคราม (International humanitarian war -IHL) มากที่สุดในเรื่อง และหากเหล่าผู้นำจากเวสเทอรอสต้องตบเท้าขึ้นศาลพิจารณาคดีแบบในปัจจุบัน ใครกันจะติดดาวเป็นอาชญากรสงครามอันดับหนึ่ง? หลังผ่านการพิจารณาเหตุการณ์จาก 7 ซีซั่น ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายได้ช่วยกันตัดสินคดี จนมีผลออกมาอย่างที่เห็น แรมซีย์ โบลตัน จอมโฉดแห่งเวสเทอรอส  ...
เสียงที่มองเห็น –  ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

เสียงที่มองเห็น – ช่างภาพปาเลสไตน์สะท้อนความฝันของคนรุ่นใหม่ในกาซ่าด้วยภาพถ่ายที่ให้เสียงดังฟังชัด

, บทความ

“ผมอายุ 33 ไม่เคยขึ้นเครื่องบินมาก่อน” Abdel Rahman Zagout ช่างภาพชาวปาเลสไตน์เอาชนะรางวัลประกวดภาพถ่ายของ ICRC ประจำปี 2018 ด้วยเซ็ทภาพวาดที่บอกเล่าเรื่องราวของวัยรุ่นในกาซ่า เป็นเวลาร่วม 10 ปี ที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยความขัดแย้งที่ส่งผลโดยตรงต่อสภาพเศรฐกิจ นักศึกษาจบใหม่กว่า 70 กลายเป็นคนตกงานในทันทีในขณะที่ บางส่วนเลือกเดินทางข้ามชายแดนไปตามหาอนาคตใหม่ในประเทศอียิปต์ ภาพถ่ายของ Zagout สะท้อนความฝันของวัยรุ่นที่เกิดและเติบโตท่ามกลางความขัดแย้งด้วยถ้อยคำที่ดังฟังชัด Reference: ...
คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

คำแถลงการจากนายฟาบริซิโอ คารบอนี่ ผู้อำนวยการ ICRC ประจำภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในประเทศเยเมน

, News / ไทย

เจนีวา (ICRC) สถานการณ์ทางการเมืองในเยเมนอยู่ในช่วงวิกฤต กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ – ข้อกำหนดพื้นฐานว่าด้วยการปกป้องพลเรือน ถูกละเลยจากฝ่ายที่ทำการต่อสู้ ความเสียหายและภาวะหิวโหยกลายเป็นปัญหาใหญ่ ชาวเยเมนทั่วประเทศเผชิญหน้ากับภาวะความอดยากและยากจนแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน การแก้ปัญหาในเยเมน ต้องพึ่งพาความร่วมมือเร่งด่วนจากหลายภาคส่วน: กระบวนการทางการเมืองจะต้องกลับคืนสู่ภาวะปกติ พื้นที่ขัดแย้งจะต้องถูกกำหนดและควบคุมไม่ให้ลุกลาม ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมจะต้องไม่ถูกขัดขวาง ทั้งนี้ทั้งนั้น สิ่งที่สำคัญมากเป็นอันดับหนึ่ง คือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศหรือที่เราเรียกกันว่า ‘กฎแห่งสงคราม’ จะต้องได้รับการปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The International Committee ...
บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

บนถนนสู่การพบหน้า : ร้อยเรื่องระหว่างทางจากชาวปาเลสไตน์กว่าจะได้พบผู้เป็นที่รักในเรือนจำอิสราเอล

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

‘ใบอนุญาตผ่านทาง บัตรประจำตัว เงินสด’ เธอย้ำซ้ำแล้วซ้ำอีกเพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีอะไรที่ตกหล่น เธอคงให้อภัยตัวเองไม่ได้หากมีอะไรขาดหายไป ‘ข่าวจากครอบครัว เรื่องราวของเพื่อนบ้าน’ อย่าลืมบอกเขาว่าเธอคิดถึงเขามากแค่ไหน เพราะถ้าพลาดไป หมายถึงเธอต้องรอไปอีกร่วมหนึ่งเดือน ‘เสื้อผ้าชุดเก่า หนังสือที่เขาเคยอ่าน ภาพถ่ายที่เริ่มเลือนลาง และจดหมายที่มีลายมือของเขา’ เธอมองอีกครั้งก่อนออกเดินทาง ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

, บทความ / บล็อค

ในตอนก่อนหน้า เราได้พูดถึงที่มาและความสำคัญของกิจกรรมแข่งขันความรู้ด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือ IHL) กิจกรรมนี้จัดขึ้นทั้งในรูปแบบบทบาทสมมติ การว่าความศาลจำลอง ไปจนถึงการโต้วาที และมีการจัดการแข่งขันทั่วโลกร่วมทั้งในประเทศไทย ในบทนี้เราจะมาเล่าต่อ ว่าการเข้าร่วมแข่งขันในรายการที่ว่า สามารถสร้างประโยชน์ให้กับผู้เข้าแข่งขันไปจนถึงประเทศที่ให้การสนับสนุนได้อย่างไร เรียนรู้หลักการและคุณค่าทางมนุษยธรรมไปพร้อมกับตามหาเส้นทางอาชีพ การแข่งขัน  IHL อาศัยการจำลองสถานการณ์เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันนำความรู้จากบทเรียนมาปรับใช้กับเหตุการณ์จริง ไม่ว่าจะได้รับบทบาทสมมุติเป็นผู้แทน ICRC หรือที่ปรึกษากฎหมายของทั้งฝ่ายทหารและกลุ่มติดอาวุธ ผู้เข้าแข่งขันต้องให้เหตุผลที่เหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมเจรจาในประเด็นกฎหมายและมนุษยธรรมที่มีความแตกต่างกัน ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 1)

การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 1)

, บทความ / บล็อค

กิจกรรมแข่งขันความรู้ด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ(International Humanitarian Law หรือ IHL) เป็นกิจกรรมที่แพร่หลายไปทั่วโลก ไม่ว่าจะจัดขึ้นในรูปแบบบทบาทสมมติ การว่าความศาลจำลอง หรือการโต้วาที ต่างมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ “นำตัวกฎหมายมาปรับใช้ในสถานการณ์จริง สำหรับผู้เข้าแข่งขันประโยชน์ที่ได้รับคือโอกาสในการสร้างเครือข่ายในโลกของการทำงานและเพิ่มพูนความรู้ด้าน IHL  ทว่าการจัดกิจกรรมเหล่านี้ในระยะยาวจะช่วยสร้างเงื่อนไขทางสังคมที่ทำให้เกิดการเคารพชีวิต ศักดิ์ศรี และการปฏิบัติภารกิจทางด้านมนุษยธรรมที่เป็นกลาง หรือแม้กระทั่งการธำรงรักษาสันติภาพได้อย่างไร คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red ...
หนทางสู่การกำกับดูแลอาวุธรูปแบบใหม่ – ข้อท้าทายว่าด้วยกลไกที่ใช้กำกับดูแลอาวุธในยุคปัจจุบัน

หนทางสู่การกำกับดูแลอาวุธรูปแบบใหม่ – ข้อท้าทายว่าด้วยกลไกที่ใช้กำกับดูแลอาวุธในยุคปัจจุบัน

, บทความ / บล็อค

การลดอาวุธในกรอบพหุภาคีนั้นเกิดขึ้นภายใต้ข้อจำกัดหลายประการ สาเหตุก็เนื่องมาจากต้องดำเนินการอยู่ภายใต้แบบแผนในการจัดการที่ยุ่งยากมากเกินไป ไม่มีความยืดหยุ่น และล่าช้าต่อการดำเนินงาน การเจรจาลดอาวุธภายใต้กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธตามแบบบางชนิด (Convention on Certain Conventional Weapons: CCW) เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่า กรอบการประชุมหลายฝ่ายเพื่อดำเนินการลดอาวุธนั้นไม่สามารถตอบสนองต่อรูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยีทางอาวุธที่รุดหน้าไปอย่างรวดเร็วได้ ดังจะเห็นได้จากความพยายามในการประเมินอาวุธสมัยใหม่อย่างระบบอาวุธสังหารอัตโนมัติ (lethal autonomous weapon systems: LAWS) หรือหุ่นยนต์สังหาร ถูกนำไปเชื่อมโยงกับข้อถกเถียงในเชิงปรัชญา ทำให้ยากที่จะหาข้อสรุปและแปลความได้ อีกทั้งยังมีขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ...