nuclear weapons

อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

8:15 นาฬิกาที่ถูกหยุดไว้ในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 8 โมงเช้ากับอีก 15 นาที คือเวลาที่ฮิโรชิมะ ถูกถล่มราบเป็นหน้ากลองด้วยอานุภาพจากระเบิดปรมาณูชนิดยูเรเนียม ระเบิดถูกหย่อนจากน่านฟ้าโดย ‘บี-ซัง’ หรือ ‘มิสเตอร์บี’ ชื่อที่ชาวญี่ปุ่นใช้เรียกเครื่องบิน บี-29 อย่างทั้งเกรงใจ ทั้งไม่ชอบใจ แต่ก็คุ้นเคย ใครจะรู้ว่า การมาถึงของบี-ซังในครั้งนั้นต่างออกไป เพราะทันทีที่ระเบิดถูกปล่อยลงมา ...
75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

, News / บทความ / ไทย

75 ปีก่อน ในช่วงเช้าของวันที่ 6 สิงหาคม 2488 เครื่องบิน B-29 ได้ปล่อยอาวุธอันน่ากลัวที่คิดค้นขึ้นใหม่ใส่พื้นที่ของเมืองฮิโรชิมา ระเบิดนิวเคลียร์ลูกดังกล่าวทำลายเมืองจนราบเป็นหน้ากลอง คร่าชีวิตผู้คน 70,000 คนในพริบตา และอีกกว่าหมื่นชีวิตบาดเจ็บสาหัส และในวันที่ 9 สิงหาคม ระเบิดนิวเคลียร์ลูกที่ 2 ได้ทำลายตัวเมืองนางาซากิ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตทันที 39,000 คน ...
สารพันปัญหาว่าด้วยระเบิดปรมาณู: ถาม-ตอบ ข้อข้องใจด้านสุขภาพกับคุณหมอประจำโรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ

สารพันปัญหาว่าด้วยระเบิดปรมาณู: ถาม-ตอบ ข้อข้องใจด้านสุขภาพกับคุณหมอประจำโรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ

, บทความ / บล็อค / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

ระเบิดปรมาณูมีผลข้างเคียงด้านสุขภาพจริงหรือไม่? ไขข้อข้องใจกับด็อกเตอร์มาซาโอะ โทโมนากะ ผู้อำนวยการกิตติมศักดิ์โรงพยาบาลระเบิดปรมาณูแห่งนางาซากิ สภากาชาดญี่ปุ่น ถาม: ผู้รอดชีวิตจากระเบิดปรมาณูต้องเจอผลกระทบทางสุขภาพอย่างไรบ้าง? ตอบ: ผลกระบทหลักของสารกัมมันตรังสีคือโรคลูคีเมีย (มะเร็งเม็ดเลือดขาว), มะเร็ง และโรคหัวใจ บางคนอาจมีอาการหลายอย่างทับซ้อนกัน สำหรับคนที่โดนระเบิดโดยตรง บางคนตาบอดเพราะจ้องมองการระเบิด ...
ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

ปกป้องโลกจากมหันตภัยนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) เรียกร้องให้บรรดารัฐ ผู้นำและประชากรโลก ร่วมมือกันป้องปรามการใช้อาวุธนิวเคลียร์ มิฉะนั้นมนุษยชาติอาจต้องเผชิญมหันตภัยจากอาวุธนิวเคลียร์ที่เกินเยียวยาก็เป็นได้ เมื่อพิจารณาถึงอานุภาพที่ร้ายแรงของอาวุธนิวเคลียร์แล้ว ทางออกที่ดีที่สุดในเวลานี้คือการดำเนินการในเชิงป้องกันจนกว่าจะมั่นใจได้ว่าอาวุธนิวเคลียร์จะไม่ถูกนำมาใช้อีกต่อไป เพื่อหลีกเลี่ยงหายนะจากอาวุธนิวเคลียร์ รัฐทั้งหลายต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน ดังนี้ รัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์ในความครอบครองรวมถึงรัฐที่เป็นพันธมิตรต้องหาหนทางเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาวุธนิวเคลียร์จะถูกนำมาใช้ พร้อมทั้งให้ประชาคมโลกร่วมเป็นผู้สอดส่องปฏิบัติการดังกล่าว รัฐที่เป็นภาคีสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ) Treaty on ...