humanitarian

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

สงครามที่เราไม่ได้ก่อ – มุมมองต่อสงครามและสันติภาพจากคนยุดมิลเลนเนียน

, บทความ / บล็อค

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เปิดเผยรายงานการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นมิลเลนเนียล 16000 คน ใน 16 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อสงครามและการสู้รบ โดยกลุ่มคนที่ทำการสอบถามมีอายุระหว่าง 20-35 ปี อาศัยอยู่ในประเทศที่มีและไม่มีสงคราม คือ อัฟกานิสถาน โคลัมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย อิสราเอล มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ปาเลสไตน์ รัสเซีย ...
73% ของคนยุค Millennials ใน 15 ประเทศ เน้นย้ำความสำคัญของการมีสุขภาพจิตที่ดี ว่ามีความจำเป็นเช่นเดียวกับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย

73% ของคนยุค Millennials ใน 15 ประเทศ เน้นย้ำความสำคัญของการมีสุขภาพจิตที่ดี ว่ามีความจำเป็นเช่นเดียวกับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย

, News / บล็อค / ไทย

เจนีวา (ICRC) เกือบ 3 ใน 4 ของคนยุค millennials (กลุ่มคนที่มีอายุตั้งแต่ 18-35 ปี) ระบุผ่านแบบสอบถามใน 15 ประเทศ เห็นว่าสุขภาพจิตที่ดี มีความจำเป็นมากเท่าๆ กับ น้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัย สำหรับผู้ได้รับผลกระทบจากสงครามและความรุนแรง อิปซอสส์ (Ipsos) ...
ถูกสังหารโดยคนหรือเครื่องจักร? – ว่าด้วยปฏิบัติการทางไซเบอร์และอาวุธสังหารอัตโนมัติกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

ถูกสังหารโดยคนหรือเครื่องจักร? – ว่าด้วยปฏิบัติการทางไซเบอร์และอาวุธสังหารอัตโนมัติกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

จะเกิดอะไรขึ้นหากเครื่องจักรเป็นผู้พรากชีวิต? เมื่อกฎหมายมนุษยธรรมมีผลบังคับใช้ในมนุษย์ การพรากชีวิตโดยหุ่นยนต์ หรือ อากาศยานไร้คนขับ จัดว่าผิดกฎหมายมนุษยธรรมหรือไม่? หรือว่ากฎหมายของเราเก่าเกินไปสำหรับสถานการณ์ปัจจุบันเสียแล้ว!? ชุดคำถามและความสงสัย กลายเป็นประเด็นใหญ่ที่ได้รับการถกเถียงอย่างออกรสชาติ ในงานสัมมนาว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเหนือครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 24-28 มิถุนายน 2019 งานในครั้งนี้จัดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และสถาบันการทูตเวียดนาม (DAV) เพื่อเจาะลึกรายละเอียดในแง่มุมต่างๆ ของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และประเด็นแวดล้อมเกี่ยวข้อง ยกตัวอย่างเช่น ...
70 ปีอนุสัญญาเจนีวา – กฎแห่งสงครามที่ปกป้องชีวิตมากว่า 70 ปี

70 ปีอนุสัญญาเจนีวา – กฎแห่งสงครามที่ปกป้องชีวิตมากว่า 70 ปี

, บทความ / บล็อค

ลองจินตนาการว่า หมู่บ้านของคุณถูกโจมตี คุณพลัดหลงกับครอบครัว ถูกจับโดยฝ่ายตรงข้าม ตอนนี้คุณนั่งอยู่บนหลังรถบรรทุก ถูกปิดตา มัดแขนขา ท่ามกลางอากาศร้อน 50 องศา ห้อมล้อมไปด้วยชายแปลกหน้าติดอาวุธ คุณจะคิดถึงอะไร? คุณอาจคิดว่า ถ้าคุณถูกฆ่าเสียตอนนี้ ครอบครัวของคุณจะรู้หรือเปล่า จะมีใครส่งข่าวถึงพวกท่านบ้างไหม แล้วศพของคุณล่ะ จะถูกส่งกลับไปยังครอบครัวหรือไม่? ลองจินตนาการว่า คุณคือนักรบถือปืนบนหลังรถบรรทุก ชายที่ถูกปิดตาอยู่ข้างๆ คือคนที่ฆ่าเพื่อนรักของคุณระหว่างการโจมตี คุณจะคิดถึงอะไร? ...
ความพิการไม่ใช่ข้อจำกัดทางความสามารถ ขอแค่เรากล้าออกมาใช้ชีวิต จะรู้ว่าโลกนี้กว้างใหญ่และมีใครหลายคนพร้อมให้โอกาสเราเสมอ

ความพิการไม่ใช่ข้อจำกัดทางความสามารถ ขอแค่เรากล้าออกมาใช้ชีวิต จะรู้ว่าโลกนี้กว้างใหญ่และมีใครหลายคนพร้อมให้โอกาสเราเสมอ

, บทความ / บล็อค

“ความพิการไม่ใช่ข้อจำกัดทางความสามารถ แต่โอกาสและการยอมรับจากสังคมจะเป็นตัวแปรหลักที่เปิดทางให้ผู้พิการ สามารถมีส่วนร่วมในส่วนต่างๆ ของสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี” คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และสภากาชาดไทย ร่วมกันจัดโครงการฝึกอบรมสร้างเสริมสมรรถนะคนพิการที่ปฎิบัติงานประจำเหล่ากาชาดและกิ่งกาชาด งานในครั้งนี้จัดขึ้นที่จังหวัดนครสวรรค์ มีความตั้งใจหลักเพื่อทำความเข้าใจและเตรียมความพร้อมให้ผู้พิการสามารถปฎิบัติงานในเหล่ากาชาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราเก็บสัมภาษณ์ที่แฝงด้วยแรงบันดาลใจมาเล่าสู่กันฟัง ขอแค่เรากล้าออกมาใช้ชีวิต จะรู้ว่าโลกนี้กว้างใหญ่และมีใครหลายคนพร้อมให้โอกาสเราเสมอ “คนส่วนใหญ่รู้ว่าถ้าอยากบริจาคร่างกายต้องไปศิริราช อันที่จริงแค่มาเหล่ากาชาดประจำจังหวัด ก็สามารถบริจาคอวัยวะได้ หลายคนคิดว่าการบริจาคเลือดเป็นเรื่องยุ่งยาก ผมก็ไม่เคยบริจาคกระทั่งมาทำงานกับกาชาดไทย บางคนคิดว่าการมีข้อจำกัดทางร่างกายทำให้ชีวิตต้องถูกจำกัด ผมเชื่อว่าถ้าเรายอมรับในสิ่งที่เป็น ไม่กลัวคำสบประมาทนินทาเราจะพบว่าโลกมีทางให้ทุกคนเลือกเดิน แม้เราจะเคลื่อนที่ไปบนรถเข็น “ผมมีข้อบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว ...
เหตุผล 5 ประการ ที่ทำให้ข้อมูลที่เป็นความลับของ ICRC ไม่สมควรนำไปใช้ในกระบวนการดำเนินคดี

เหตุผล 5 ประการ ที่ทำให้ข้อมูลที่เป็นความลับของ ICRC ไม่สมควรนำไปใช้ในกระบวนการดำเนินคดี

, บทความ / บล็อค

ภาระกิจของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) โดยลักษณะแล้ว อาจเป็นเพียงองค์กรมนุษยธรรมเพียงองค์กรเดียวที่สามารถเข้าถึงพื้นที่และบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากสงครามและสถานการณ์ความรุนแรงต่าง ๆ ข้อมูลที่ ICRC ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งรวมไปถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายที่ได้รับการร้องเรียน ถูกร้องขอใช้ข้อมูลดังกล่าวในกระบวนการดำเนินคดี ถึงแม้ว่าอาณัติของ ICRC กำหนดให้มีการส่งเสริมความพยายามในการเอาผิดกับผู้กระทำความผิดตามกฎหมายอาญาระหว่างประเทศ แต่ ICRC ยังคงต้องดำเนินหน้าที่ดังกล่าวควบคู่ไปกับการรักษาและดำเนินบทบาทในการประกันให้มีการเคารพกฎหมาย ผ่านการเจรจาหารือในระดับทวิภาคีที่เป็นไปโดยลับ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ...
*SPOILERS* #แดนี่ชนะแรมซี่ ยืนหนึ่งขึ้นเป็นตัวละครที่ละเมิดกฎแห่งสงครามมากที่สุดในซีรีย์ Game of Thrones #GoT #GoTIHL

*SPOILERS* #แดนี่ชนะแรมซี่ ยืนหนึ่งขึ้นเป็นตัวละครที่ละเมิดกฎแห่งสงครามมากที่สุดในซีรีย์ Game of Thrones #GoT #GoTIHL

, บทความ / บล็อค

8 ซีซั่น 73 ตอน เราพบการกระทำผิดกฎหมายมนุษยธรรมมากถึง 137 ครั้ง ใน 42 ข้อหา นักกฎหมายของเราพบว่าบรรดาลอร์ดและเลดี้นิยมการทรมารมากที่สุด (21 ครั้ง) ตามหลังมาติดๆ คือการทำลายชีวิตพลรบที่ยอมแพ้หรือได้รับบาดเจ็บระหว่างสงคราม (17 ครั้ง) ก่อนเริ่มซีซั่น 8 แรมซีย์ โบลตัน จอมโฉดแห่งเวสเทอรอส เคยทำแต้มนำด้วยการละเมิดกฎแห่งสงครามมากถึง ...
*SPOILERS* มังกรเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุหรือไม่? อะไรทำให้ #แม่มังกร เป็นอาชญากรสงครามเบอร์หนึ่งประจำสัปดาห์ #GoT #GoTIHL

*SPOILERS* มังกรเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุหรือไม่? อะไรทำให้ #แม่มังกร เป็นอาชญากรสงครามเบอร์หนึ่งประจำสัปดาห์ #GoT #GoTIHL

, บทความ / บล็อค

หลังคิงส์แลนดิ้งโดนเผาจนค่าฝุ่นน่าจะแซงหน้าจังหวัดเชียงใหม่ คงไม่มีใครปฎิเสธได้ว่าราชินีแดนี่ กลายเป็นผู้ละเมิดกฎแห่งสงครามที่สร้างความสะเทือนใจให้ใครหลายคนจนยากจะกู้กลับ ในมุมมองกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law – IHL) การใช้มังกรถล่มเมืองถูกอธิบายไว้อย่าไร และแม่มังกรทำผิดกฎสงครามข้อไหนอีก? 1. มังกรเทียบเท่าอาวุธสงคราม – ในช่วงแรกของการต่อสู้ การใช้มังกรของแดนี่ถือว่าไม่ผิดกฎหมายมนุษยธรรม จริงอยู่ว่ามังกรดูจะเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุ เพราะสร้างความเจ็บปวดทรมารให้ฝ่ายตรงข้ามจากการถูกเผาทั้งเป็น มังกรยังถูกมองเปรียบเทียบกับอาวุธสังหารอัตโนมัติ (killer robots หรือ lethal ...
จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

, บทความ / บล็อค

ในช่วงต้นศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด บรรดาวิศวกรผู้เปี่ยมด้วยจิตนาการจากประเทศฝรั่งเศสตลอดจนสหรัฐอเมริกา ต่างมุ่งหวังให้สิ่งประดิษฐ์ของตนเป็นเครื่องมือยับยั้งการก่อสงคราม ยับยังความสูญเสียมหาศาลที่อาจจะตามมาในภายหลัง อย่างไรก็ดี ตลอดช่วงระยะเวลาสี่ปีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความมุ่งหวังดังกล่าวกลับไม่เป็นดั่งใจเมื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถูกนำมาประยุกต์ใช้ในปฏิบัติการณ์ทางทหาร การคิดค้นพัฒนาอาวุธร้ายแรง ตลอดจนความเคลือบแคลงว่ต่อประเทศต่างๆ ว่าจะสามารถยืนหยัดในคุณค่าและหลักการของประเทศตนในยามรบกลายเป็นบทเรียนใหญ่ที่โลกทั้งใบต่างได้รับ จริงหรือไม่ที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งแสดงให้เห็นว่าหลักศีลธรรม รวมถึงหลักการตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ค.ศ.​1868 หรืออนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1899 และ 1907) ที่นำมาใช้เป็นเหตุผลในการต่อต้านการใช้อาวุธที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ถูกมองข้ามในยามที่ประเทศต้องเผชิญภาวะวิกฤต ค.ศ.1914-1918 กับการนำทฤษฎีความสัมพันธ์มาใช้อธิบายปรากฏการณ์ที่อาวุธชนิดใหม่กลายเป็นที่ยอมรับในสังคม ...
Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

, บทความ / บล็อค

“Taking the law out of the books” คือประโยคสั้นๆ อธิบายการแข่งขันด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศของ ICRC ที่เรียกกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Jean-Pictet Competition งานที่ว่าจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นเวทีสำหรับนักเรียนกฎหมายรุ่นใหม่ ให้ได้ลองใช้ความรู้ด้านกฎหมาย ในการว่าความร่วมกับผู้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ สิริกมล สุรทิณฑ์ (แป้ง), สาริสา ทีฆตระกูล (แอ๊นท์) และ ...