เชลยสงคราม

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

“แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” ประโยคนี้มีความหมายว่าอย่างไร อะไรคือใจความสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ “แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” มีความหมายว่า หากสงครามเกิดขึ้น ก็ต้องมีการจำกัดผลกระทบของมัน ยกตัวอย่างเช่น คุณต้องไม่โจมตีเด็ก สตรี หรือประชาชนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสู้รบ รวมไปถึงการให้การดูแลผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรม ไม่ทำการทรมานผู้อื่นเพื่อรีดข้อมูล โดยกฎเกณฑ์ที่ยกมานี้ ถูกระบุชัดในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ซึ่งเป็นกฎที่ถูกตั้งขึ้นมาโดยมีเป้าหมายทางมนุษยธรรมเป็นที่ตั้ง กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทำหน้าที่หลักสองประการ 1. ปกป้องผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสู้รบ หรือไม่สามารถทำการสู้รบต่อ นั่นรวมไปถึง ...
109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

109 ปีที่แล้ว ICRC เยี่ยมผู้ต้องขังครั้งแรกในเอเชีย

, บทความ / บล็อค

ภาพ-เชลยสงครามชาวอิตาเลี่ยนในประเทศอินเดียในค่ายเชลยสงครามหมายเลข 2 รวมกลุ่มเล่นดนตรี (ประมาณปี 1939-1945 ) เมื่อ 109 ปีที่แล้วในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 คณะกรรมการกาชาดระหว่างแระเทศ (ICRC) เข้าเยี่ยมผู้ต้องขังในเอเชียครั้งแรกในเอเชีย ในครั้งนั้น คณะผู้แทน ICRC เข้าเยี่ยมเชลยสงครามในอินเดีย และพม่าซึ่งณ เวลานั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ โดยแบ่งเป็นค่ายกักขังในอินเดีย 6 ที่ ...
ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง

, บทความ / บล็อค

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (1914-1918) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาสงคราม” เป็นครั้งแรกของการทำสงครามในรูปแบบใหม่ ในสเกลใหญ่ โดยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น รถถัง เครื่องบินรบ และอาวุธเคมี ในการสู้รบที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั่วโลก ความเสียหายทางชีวิตและทรัพย์สินก็อยู่ในระดับประวัติการณ์ ประชากร (พลเรือนและทหาร) กว่า 37 ล้านคนเสียชีวิต ไม่นับผู้คนที่ได้รับบาดเจ็บ อีกเป็นจำนวนมาก ณ ตอนนั้นนอกจากจะมีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนสมรภูมิรบแล้ว คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ...