ICRC ครั้งแรกของการเยี่ยมผู้ต้องขัง 05/07/2016, บทความ / บล็อค สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (1914-1918) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาสงคราม” เป็นครั้งแรกของการทำสงครามในรูปแบบใหม่ ในสเกลใหญ่ โดยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่น รถถัง เครื่องบินรบ และอาวุธเคมี ในการสู้รบที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั่วโลก ความเสียหายทางชีวิตและทรัพย์สินก็อยู่ในระดับประวัติการณ์ ประชากร (พลเรือนและทหาร) กว่า 37 ล้านคนเสียชีวิต ไม่นับผู้คนที่ได้รับบาดเจ็บ อีกเป็นจำนวนมาก ณ ตอนนั้นนอกจากจะมีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนสมรภูมิรบแล้ว คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ที่ตอนนั้นมีอายุ 53 ปี ได้ส่งคณะผู้แทนเข้าเยี่ยมผู้ต้องขังเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 มกราคม 1915 โดยการยอมรับของทุกฝ่าย ICRC เข้าเยี่ยมเชลยสงครามที่ถูกควบคุมตัวที่ค่าย Gardelegen ในประเทศเยอรมันนี (ภาพบน) การเยี่ยมเชลยสงครามในครั้งนั้นเป็นก้าวสำคัญของ ICRC และถือเป็นการวางรากฐานงานด้านมนุษยธรรมสำหรับผู้ที่ปราศจากเสรีภาพเพราะสงครามและการสู้รบ เพื่อการตอบสนองบริบทที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ถึงจะผ่านมาเกือบหนึ่งศตวรรษ ICRC ยังมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยมีประวัติศาสตร์เป็นตัวยืนยัน และความตั้งใจเพื่อประโยชน์ของมนุษย์ทุกคน ทุกเชื้อชาติ และศาสนาเป็นแรงขับเคลื่อน แบ่งปันบทความนี้ You should also read these articles ไอซีอาร์ซีในประเทศไทย 11/07/2016, บทความ / บล็อค ไอซีอาร์ซีมาเริ่มงานครั้งแรก ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ในช่วงเหตุการณ์เขมรแตก ซึ่งในขณะนั้นสำนักงานของเราในภูมิภาคนี้ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ด้วยภาวะสงครามอันรุนแรงพนักงานไอซีอาร์ซีจำต้องอพยพเดินทางข้ามมาทางชายแดนไทย ก่อนที่จะเข้ามาตั้งสำนักงานถาวรในกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2522 ณ ซอยร่วมฤดี และในปีถัดมา เมื่อ พ.ศ. 2523 เราก็ตั้งสำนักงานขึ้นอีกแห่งที่ สุขุมวิท ซอย 4 (ซอยนานา) โดยสำนักงานที่นานาในยุคนั้น ... ผู้บัญชาการเรือนจำในกัมพูชาร่วมหารือเรื่องมาตรการความปลอดภัยและฝึกอาชีพให้ผู้ต้องขัง 22/09/2016, บทความ / บล็อค การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรมโดยคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นงานที่มีความท้าทายอย่างมาก แต่โครงการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจภายในเรือนจำ จะช่วยเตรียมผู้ต้องข้งให้พร้อมออกไปเผชิญกับโลกภายนอกหลังจากที่พวกเขาพ้นโทษและยังช่วยลดความตึงเครียดภายในเรือนจำได้อีกด้วย การดำเนินมาตรการรักษาความปลอดภัยของเรือนจำในประเทศกัมพูชาเป็นงานท้าทาย ซึ่งคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศหรือไอซีอาร์ซีได้ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ของกัมพูชาเพื่อหาทางแก้ไขอุปสรรคและข้อท้าทายต่างๆที่เกิดขึ้น โครงการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจของผู้ต้องขังเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญที่ถูกหยิบยกขึ้นมาหารือระหว่างการประชุมผู้บัญชาการเรือนจำทั่วประเทศกัมพูชาซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลาสองวันที่จังหวัดเกาะกง เนื่องจากโครงการดังกล่าวยังไม่กระจายไปยังผู้ต้องขังที่อยู่ตามเรือนจำทั่วประเทศอย่างทั่วถึง สำหรับเรือนจำจังหวัดเกาะกงของกัมพูชาก็เป็นอีกหนึ่งในเรือนจำที่เผชิญปัญหาหลายอย่าง เช่น การขาดแคลนเจ้าหน้าที่ ความแออัดของห้องขัง ปัญหาไฟดับและน้ำไม่ไหล รวมถึงสถานที่ตั้งของเรือนจำก็อยู่ห่างไกลเกินไป แต่แม้ว่าทางเรือนจำจะประสบปัญหาดังกล่าวแต่เจ้าหน้าที่ก็พยายามจัดกิจกรรมให้กับผู้ต้องขังทุกวัน ฯพณฯ จัน คิม เซ็ง อธิบดีกรมราชทัณฑ์กัมพูชากล่าวเปิดงาน พลเอกจัน คิม เซ็ง อธิบดีกรมราชทัณฑ์ของกัมพูชากล่าวระหว่างการประชุมว่า “กิจกรรมการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจสำหรับผู้ต้องขัง จะช่วยให้พวกเขาสามารถกลับคืนสู่สังคมได้อีกครั้งเมื่อพวกเขาพ้นโทษและยังทำให้ชุมชนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้นอีกด้วย ” นายเปา ฮัม พัน ...
ไอซีอาร์ซีในประเทศไทย 11/07/2016, บทความ / บล็อค ไอซีอาร์ซีมาเริ่มงานครั้งแรก ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ในช่วงเหตุการณ์เขมรแตก ซึ่งในขณะนั้นสำนักงานของเราในภูมิภาคนี้ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ด้วยภาวะสงครามอันรุนแรงพนักงานไอซีอาร์ซีจำต้องอพยพเดินทางข้ามมาทางชายแดนไทย ก่อนที่จะเข้ามาตั้งสำนักงานถาวรในกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2522 ณ ซอยร่วมฤดี และในปีถัดมา เมื่อ พ.ศ. 2523 เราก็ตั้งสำนักงานขึ้นอีกแห่งที่ สุขุมวิท ซอย 4 (ซอยนานา) โดยสำนักงานที่นานาในยุคนั้น ...
ผู้บัญชาการเรือนจำในกัมพูชาร่วมหารือเรื่องมาตรการความปลอดภัยและฝึกอาชีพให้ผู้ต้องขัง 22/09/2016, บทความ / บล็อค การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรมโดยคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นงานที่มีความท้าทายอย่างมาก แต่โครงการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจภายในเรือนจำ จะช่วยเตรียมผู้ต้องข้งให้พร้อมออกไปเผชิญกับโลกภายนอกหลังจากที่พวกเขาพ้นโทษและยังช่วยลดความตึงเครียดภายในเรือนจำได้อีกด้วย การดำเนินมาตรการรักษาความปลอดภัยของเรือนจำในประเทศกัมพูชาเป็นงานท้าทาย ซึ่งคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศหรือไอซีอาร์ซีได้ทำงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ของกัมพูชาเพื่อหาทางแก้ไขอุปสรรคและข้อท้าทายต่างๆที่เกิดขึ้น โครงการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจของผู้ต้องขังเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญที่ถูกหยิบยกขึ้นมาหารือระหว่างการประชุมผู้บัญชาการเรือนจำทั่วประเทศกัมพูชาซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลาสองวันที่จังหวัดเกาะกง เนื่องจากโครงการดังกล่าวยังไม่กระจายไปยังผู้ต้องขังที่อยู่ตามเรือนจำทั่วประเทศอย่างทั่วถึง สำหรับเรือนจำจังหวัดเกาะกงของกัมพูชาก็เป็นอีกหนึ่งในเรือนจำที่เผชิญปัญหาหลายอย่าง เช่น การขาดแคลนเจ้าหน้าที่ ความแออัดของห้องขัง ปัญหาไฟดับและน้ำไม่ไหล รวมถึงสถานที่ตั้งของเรือนจำก็อยู่ห่างไกลเกินไป แต่แม้ว่าทางเรือนจำจะประสบปัญหาดังกล่าวแต่เจ้าหน้าที่ก็พยายามจัดกิจกรรมให้กับผู้ต้องขังทุกวัน ฯพณฯ จัน คิม เซ็ง อธิบดีกรมราชทัณฑ์กัมพูชากล่าวเปิดงาน พลเอกจัน คิม เซ็ง อธิบดีกรมราชทัณฑ์ของกัมพูชากล่าวระหว่างการประชุมว่า “กิจกรรมการฝึกอาชีพและฟื้นฟูสภาพจิตใจสำหรับผู้ต้องขัง จะช่วยให้พวกเขาสามารถกลับคืนสู่สังคมได้อีกครั้งเมื่อพวกเขาพ้นโทษและยังทำให้ชุมชนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้นอีกด้วย ” นายเปา ฮัม พัน ...