การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ

การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

, บทความ

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันน้ำโลก (World Water Day) ซึ่งเป็นวันที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะ ‘น้ำ’ เป็นปัจจัยสำคัญในการใช้ชีวิต นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่ามนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้ราว 3 สัปดาห์หากขาดอาหาร แต่สามารถมีลมหายใจได้เพียง 3-4 วัน หากปราศจากน้ำดื่ม อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ด้วยภาวะสงครามและความขัดแย้ง การเข้าถึงน้ำสะอาดยังคงเป็นปัญหาใหญ่ และเป็นเรื่องจำเป็นถึงชีวิตที่เราอยากหยิบมาบอกเล่าในวันสำคัญนี้ วิกฤตน้ำสะอาดเมื่อสงครามกระจายตัวสู่พื้นที่เมือง ...
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศเปิดกองทุนลดโลกร้อน

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศเปิดกองทุนลดโลกร้อน

, News / ไทย

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross- ICRC) เปิดตัวกองทุนเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Climate and Environment Transition Fund) อันเป็นโครงการระยะยาวเพื่อสนับสนุนเป้าหมายของไอซีอาร์ซีด้านความยั่งยืนและการลดโลกร้อน ผ่านการทำงานมนุษยธรรมของไอซีอาร์ซีทั่วโลก นาย ปีเตอร์ เมาเรอร์ ประธานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ กล่าวว่า ...
จากทะเลสาบเป็นทะเลทราย: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้ประเทศมาลีเผชิญสภาวะวิกฤต

จากทะเลสาบเป็นทะเลทราย: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้ประเทศมาลีเผชิญสภาวะวิกฤต

, บทความ / บล็อค

เพียงหนึ่งเดือนก่อนถึงการประชุมภาคีสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (COP26) สถานการณ์ในมาลีได้เตือนให้ทั้งโลกได้เห็นถึงประเด็นร้อนที่ส่งผลโดยตรงกับชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่ขัดแย้ง ประเทศมาลีได้รับการจัดอันดับจาก ND-GAIN ให้เป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุดเป็นอันดับ 7 ด้วยปัญหาความขัดแย้งอย่างนาวนานทำให้ UNDP จัดอันดับมาลีเป็นประเทศที่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ และเป็นประเทศที่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) ต่ำที่สุดเป็นอันดับที่ 184 จาก 189 ประเทศ นายแพทริก ยูเซฟ ผู้อำนวยการประจำภูมิภาคแอฟริกา คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ...
ต่อให้ติด – ช่องว่างกรอบกฎหมายของการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและการขัดกันทางอาวุธ

ต่อให้ติด – ช่องว่างกรอบกฎหมายของการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและการขัดกันทางอาวุธ

, บทความ / บล็อค

บทความโดย เอกอัครราชทูต มาเรีย เลห์โท กระทรวงการต่างประเทศฟินแลนด์ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการขัดกันทางอาวุธไม่ได้เป็นผลกระทบที่เกิดจากการกระทำของฝ่ายปรปักษ์เท่านั้น แต่ยังเกิดจากซากอาวุธสงครามที่เป็นพิษหรืออันตราย การขูดรีดเอาทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่ขัดแย้งมาใช้มากเกินไป กลยุทธ์การเอาชีวิตรอดที่ไม่ยั่งยืนที่ประชากรที่ได้รับผลกระทบต้องนำมาปฏิบัติใช้ หรือเกิดจากการล่มสลายของสถาบันต่าง ๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (ILC) นอกจากจะจัดทำแนวทางปฏิบัติของ ICRC ที่เพิ่งเผยแพร่ไปเมื่อไม่นานมานี้ ยังได้ดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริบทที่มีการขัดกันทางอาวุธ อันเป็นการช่วยพัฒนาปรับปรุงแนวทางของกฎหมายระหว่างประเทศในการรับมือกับความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมในบริบทของสถานการณ์ความขัดแย้ง ในบทความนี้และในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง สงคราม กฎหมาย และสิ่งแวดล้อมของเรา ที่เผยแพร่ร่วมกับเว็บไซต์ ...
สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา

สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา

, บทความ / บล็อค

“แม้ในสนามรบเขาจักพิชิตนักรบนับพัน แต่เขาจักเป็นผู้พิชิตสูงส่งหากเขาพิชิตใจตนได้” -พระธรรมบท ข้อ 103 แม้ศาสนาพุทธจะไม่สนับสนุนการมีอยู่ของสงคราม (ไม่มีสงครามใดที่เป็นธรรม) ถึงอย่างนั้นพุทธศาสนาก็ยอมรับความเป็นจริงของการสู้รบและความทุกข์ทรมานที่สงครามก่อให้เกิด พระพุทธเจ้าทรงใช้ชีวิตในยุคที่เต็มไปด้วยสงคราม หลักธรรมหลายอย่างที่ทรงได้แสดงไว้ สะท้อนให้เห็นถึงจิตใจเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และมุมมองต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องใกล้เคียงกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International humanitarian law – IHL) อันเป็นกฎหมายที่ถูกใช้ในยามสงครามซึ่งถูกเขียนขึ้นหลังสมัยพุทธกาลเป็นเวลากว่าพันปี กฎหมายกับศาสนา ความเหมือนที่แตกต่าง แม้ว่าศาสนาและกฎหมายจะไม่ได้มีข้อกำหนดและบทลงโทษที่ตรงกันทุกประการ หนึ่งในข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายกับศาสนา ...
เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

เกี่ยวกันไหม? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสถานกาณ์สงครามในหลายประเทศ?   

, บทความ

งานวิจัยใหม่ที่ตีพิมพ์โดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ชี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและความขัดแย้ง มีผลโดยตรงต่อจำนวนผู้อพยพที่เพิ่มสูงขึ้น ICRC จับมือกับ World Economic Forum ในสวิสเซอร์แลนด์ ทำการศึกษาบริเวณแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา พื้นที่ที่ว่าครอบคลุมหลายประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งแต่เซเนกัลไปจนถึงซูดาน ประเทศเหล่านี้มีจุดร่วมเดียวกัน คือปัญหาด้านความอดยาก การก่อการร้ายทางศาสนา การกบฎ และการค้ามนุษย์ในระดับภูมิภาค ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข ความพิเศษของแถบรอยต่อกึ่งทะเลทรายในสะฮารา (หรือที่เรียกกันว่า ‘ซาเฮล’) ...
ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

ประธาน ICRC เผย ‘ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น’

, News / บทความ / ไทย

‘ความรุนแรงที่เราเห็นทั่วโลกมีความเชื่อมโยงชัดเจนกับภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ’ กล่าว ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ทำให้ความขัดแย้งภายในและระหว่างประเทศทวีความรุนแรงขึ้นแล้วในปัจจุบัน รัฐบาลควรทำให้แน่ใจว่าสถานการณ์นี้จะไม่แย่ลงกว่าเดิม’ ปีเตอร์ เมาเร่อ ประธาน ICRC ประธาน ICRC กล่าว ประธาน ICRC ให้สัมภาษณ์กับ Guardian Australia ว่า ประเด็นดังกล่าวกลายเป็นเงื่อนไขในการทำงานด้านมนุษยธรรมเร็วกว่าที่คิด ‘นี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวหากประเมินจากการทำงานของ ICRC ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ในพื้นที่อย่างโซมาเลีย หรือประเทศในแถบแอฟริกา ...