กาชาดระหว่างประเทศ

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายสงครามทำงานอย่างไร รวมทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

“แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” ประโยคนี้มีความหมายว่าอย่างไร อะไรคือใจความสำคัญของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ “แม้แต่สงครามก็มีกฎเกณฑ์” มีความหมายว่า หากสงครามเกิดขึ้น ก็ต้องมีการจำกัดผลกระทบของมัน ยกตัวอย่างเช่น คุณต้องไม่โจมตีเด็ก สตรี หรือประชาชนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสู้รบ รวมไปถึงการให้การดูแลผู้ต้องขังอย่างมีมนุษยธรรม ไม่ทำการทรมานผู้อื่นเพื่อรีดข้อมูล โดยกฎเกณฑ์ที่ยกมานี้ ถูกระบุชัดในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ซึ่งเป็นกฎที่ถูกตั้งขึ้นมาโดยมีเป้าหมายทางมนุษยธรรมเป็นที่ตั้ง กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทำหน้าที่หลักสองประการ 1. ปกป้องผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสู้รบ หรือไม่สามารถทำการสู้รบต่อ นั่นรวมไปถึง ...
ผลการดำเนินงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ ประจำปี 2563

ผลการดำเนินงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ ประจำปี 2563

, E-Book

ดาวน์โหลดเอกสารผลการดำเนินงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ ประจำปี 2563
การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

การรับมือกับ COVID-19 ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สํานักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ (ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม)

, E-Book

ดาวน์โหลดเอกสารแสดงการทำงานของ ICRC ในช่วงโควิด-19 อัพเดท ณ วันที่ 20 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564  
เรื่องเล่าจากแนวหลัง หลายใบหน้าหลากเรื่องราวของประชาชนในบูชา

เรื่องเล่าจากแนวหลัง หลายใบหน้าหลากเรื่องราวของประชาชนในบูชา

, บทความ

ในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ บูชา เมืองเล็กๆ ที่เงียบสงบไม่ไกลจากกรุงเคียฟ เปลี่ยนโฉมหน้าไปจนทำให้หลายคนต้องหลั่งน้ำตา จากเมืองที่เคยเป็นบ้านของประชาชนเกือบสามแสน บัดนี้กลายเป็นเมืองร้างเนื่องจากประชากรเกือบทั้งหมด อพยพลี้ภัยจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ แต่ยังมีประชากรบางส่วนเลือกจะอยู่อาศัยในเมืองที่พวกเขารัก แม้มันจะยากลำบากเพราะระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานถึงการล่มสลาย ไม่มีน้ำ ไม่มีไฟฟ้า ผู้คนเหล่านี้มีเหตุผลที่แตกต่าง และนี่คือเรื่องราวของผู้คนจำนวนน้อยมากที่เลือกจะอยู่ข้างหลัง “เพื่อนบ้านของเราย้ายออกไปหมดแล้ว เราฝังร่างของลูกชายคนโตไว้ที่นี่ และฉันไม่อยากทิ้งให้เขาต้องอยู่เพียงลำพัง ลูกชายคนที่สองไม่ต้องการทิ้งฉันไว้คนเดียว เราเลยตัดสินใจที่จะอยู่ ความกลัวทำให้ฉันแทบบ้า เราสวดภาวนากันทุกวัน” กาลีน่า ดิมิเทรียฟน่า ...
การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

การเข้าถึงน้ำ เป็นเรื่องความเป็นความตายในพื้นที่ขัดแย้ง

, บทความ

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันน้ำโลก (World Water Day) ซึ่งเป็นวันที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะ ‘น้ำ’ เป็นปัจจัยสำคัญในการใช้ชีวิต นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่ามนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้ราว 3 สัปดาห์หากขาดอาหาร แต่สามารถมีลมหายใจได้เพียง 3-4 วัน หากปราศจากน้ำดื่ม อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ด้วยภาวะสงครามและความขัดแย้ง การเข้าถึงน้ำสะอาดยังคงเป็นปัญหาใหญ่ และเป็นเรื่องจำเป็นถึงชีวิตที่เราอยากหยิบมาบอกเล่าในวันสำคัญนี้ วิกฤตน้ำสะอาดเมื่อสงครามกระจายตัวสู่พื้นที่เมือง ...
ICRC แต่งตั้งทีมบริหารใหม่ขับเคลื่อนองค์กรท่ามกลางความท้าทายปัจจุบัน

ICRC แต่งตั้งทีมบริหารใหม่ขับเคลื่อนองค์กรท่ามกลางความท้าทายปัจจุบัน

, News / ไทย

นครเจนีวา – ที่ประชุมสมัชชาใหญ่ของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ หรือ ไอซีอาร์ซี (International Committee of the Red Cross – ICRC) รับรองการแต่งตั้งผู้อำนวยการใหม่ 6 ตำแหน่ง โดยจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2022 และมีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี ...
เกิดอะไรขึ้นในหนึ่งปี หลากเรื่องราวหลายผลกระทบจากโควิด-19 ในพื้นที่สงคราม

เกิดอะไรขึ้นในหนึ่งปี หลากเรื่องราวหลายผลกระทบจากโควิด-19 ในพื้นที่สงคราม

, บทความ / บล็อค

ถ้าโควิด-19 ทำให้ระบบสาธารณสุขที่ก้าวหน้าที่สุดตกอยู่ในภาวะยากลำบาก โรงพยาบาลในพื้นที่สงครามจะรับมืบวิฤตครั้งนี้ได้อย่างไร? นี่คือเรื่องราวจากแนวหน้าของประเทศที่เผชิญโรคร้ายพร้อมความท้าทายอีกมากมาย อิรัก – ชีวิตสร้างใหม่ภายใต้ซากปรักหักพัง “ไม่มีงานให้ทำอีกต่อไป ทุกอย่างหยุดนิ่ง แต่ถ้าคุณต้องอยู่โดยไม่เหลืออะไร มันคงง่ายกว่าถ้าอย่างน้อยคุณได้อยู่กับครอบครัว” Jassim จากอิรัก กล่าวถึงความยากลำบากเมื่อตลาดแรงงานของอิรักล่มสลายหลังวิกฤตโควิด-19 ตัวเขาและครอบครัวเคยลี้ภัยออกจากบ้านเพราะสงครามและความขัดแย้ง เมื่อระบบเศรฐกิจล่มสลาย Jassim พบว่าการหางานเพื่อสร้างชีวิตใหม่เป็นเรื่องทำไม่ได้อีกต่อไป เขาและครอบครัวตัดสินใจเดินทางกลับบ้านเป็นครั้งแรกในรอบหลายปี ในพื้นที่สงครามอย่างอิรัก โควิด-19 ไม่เพียงกระทบคุณภาพชีวิตของผู้คนในค่ายลี้ภัย แต่รวมไปถึงผู้คนมากมายที่ดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อประกอบอาชีพ ...
เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ว่าด้วยสถานการณ์เรือนจำไทยและเรือนจำโลกในยุคโควิด-19

, บทความ / เรื่องเล่าจากภาคสนาม

เมื่อวันที่  16-18 ธันวาคมที่ผ่านมา แผนกสุขภาพของ ICRC ได้ร่วมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะทำงานอันประกอบไปด้วย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์ และกรมพินิจและคุ้มครองเยาวชน จัดอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองเป็นอย่างไรในสถานการณ์โควิด? คุยกับสามตัวแทนประเทศไทยผู้คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งได้เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์

การแข่งขันว่าความศาลจำลองเป็นอย่างไรในสถานการณ์โควิด? คุยกับสามตัวแทนประเทศไทยผู้คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งได้เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์

, บทความ / บล็อค

“โล่ปกป้องผู้คนในยามสงคราม”, “ช่วยเหลือผู้ที่ต้องการในช่วงเวลาที่จำเป็นมากที่สุด”, “กฏขั้นต่ำที่ทำให้รู้ว่าแม้ในยามยากลำบาก มนุษยชาติยังได้รับการปกป้อง” หลากหลายคำจำกัดความที่เราอาจนึกเมื่อพูดถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า IHL) ทุกปี ICRC จัดการแข่งขันว่าความศาลจำลอง เพื่อมองหาตัวแทนประเทศไทยเข้าทำการแข่งขันในระดับเอเชีย-แปซิฟิก กฎหมายที่อาจฟังดูไกลตัว ได้รับการตีความและนำมาถกเถียงกันผ่านมุมมองของคนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นตัวแทนนักเรียนกฎหมายจากนานาชาติ ในการแข่งขันประจำปี  2020 ที่เพิ่งผ่านมา แม้จะประสบความยากลำบากจากสถานการณ์โควิด-19 แต่ตัวแทนประเทศไทยก็ทำผลงานได้น่าประทับใจ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่สามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

, บทความ / บล็อค

เส้นทางสู่การ ‘ร่วมพลังกับการดำเนินงานด้านมนุษยธรรม‘ เมื่อมีการหยิบยกข้อโต้แย้งขึ้นมาว่า เราจะต้องคำนึงถึงศาสนา เพศ เชื้อชาติ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ของผู้ได้รับผลกระทบเพื่อให้เราปรับเปลี่ยนการดำเนินการด้านมนุษยธรรมหรือไม่ คำตอบที่พบบ่อยสุดคือ วิธีการดังกล่าวนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อหลักการด้านมนุษยธรรม ยกตัวอย่างเช่น เมื่อพูดถึงเรื่องความไม่ลำเอียง (impartiality) การวิเคราะห์เช่นนี้ได้แยกให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติบนฐานของเชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกันและไม่ควรเหมือนกันอย่างไร ไม่ใช่แค่การมองเห็นเรื่องของ ‘เชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ...