ผลการดำเนินงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ ประจำปี 2563 10/05/2022, E-Book ดาวน์โหลดเอกสารผลการดำเนินงานคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) สำนักงานภูมิภาคกรุงเทพฯ ประจำปี 2563 Share this article You may also be interested in: CALL FOR MOOTERS 22/07/2019, E-Book คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการแข่งขันการว่าความศาลจำลองในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศในวันที่ 14 กันยายน 2562 (รอบภาษาไทย) และ 15 กันยายน 2562 (รอบภาษาอังกฤษ) ที่ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ่านรายละเอียดได้ด่านล่าง ICRC Regional Delegation Bangkok with Faculty of Law ... สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา 22/02/2021, E-Book “แม้ในสนามรบเขาจักพิชิตนักรบนับพัน แต่เขาจักเป็นผู้พิชิตสูงส่งหากเขาพิชิตใจตนได้” -พระธรรมบท ข้อ 103 แม้ศาสนาพุทธจะไม่สนับสนุนการมีอยู่ของสงคราม (ไม่มีสงครามใดที่เป็นธรรม) ถึงอย่างนั้นพุทธศาสนาก็ยอมรับความเป็นจริงของการสู้รบและความทุกข์ทรมานที่สงครามก่อให้เกิด พระพุทธเจ้าทรงใช้ชีวิตในยุคที่เต็มไปด้วยสงคราม หลักธรรมหลายอย่างที่ทรงได้แสดงไว้ สะท้อนให้เห็นถึงจิตใจเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และมุมมองต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องใกล้เคียงกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International humanitarian law – IHL) อันเป็นกฎหมายที่ถูกใช้ในยามสงครามซึ่งถูกเขียนขึ้นหลังสมัยพุทธกาลเป็นเวลากว่าพันปี กฎหมายกับศาสนา ความเหมือนที่แตกต่าง แม้ว่าศาสนาและกฎหมายจะไม่ได้มีข้อกำหนดและบทลงโทษที่ตรงกันทุกประการ หนึ่งในข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายกับศาสนา คือกฎหมายนั้นมีสภาพบังคับที่เกิดขึ้นในทันที แต่ศีลธรรมนั้นไม่ได้มีสภาพบังคับไว้แน่นอน ผู้ทำผิดกฎหมายฆ่าคนตายต้องติดคุก แต่ผู้ทำผิดศีลอาจถูกรังเกียจ ...
CALL FOR MOOTERS 22/07/2019, E-Book คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการแข่งขันการว่าความศาลจำลองในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศในวันที่ 14 กันยายน 2562 (รอบภาษาไทย) และ 15 กันยายน 2562 (รอบภาษาอังกฤษ) ที่ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ่านรายละเอียดได้ด่านล่าง ICRC Regional Delegation Bangkok with Faculty of Law ...
สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา 22/02/2021, E-Book “แม้ในสนามรบเขาจักพิชิตนักรบนับพัน แต่เขาจักเป็นผู้พิชิตสูงส่งหากเขาพิชิตใจตนได้” -พระธรรมบท ข้อ 103 แม้ศาสนาพุทธจะไม่สนับสนุนการมีอยู่ของสงคราม (ไม่มีสงครามใดที่เป็นธรรม) ถึงอย่างนั้นพุทธศาสนาก็ยอมรับความเป็นจริงของการสู้รบและความทุกข์ทรมานที่สงครามก่อให้เกิด พระพุทธเจ้าทรงใช้ชีวิตในยุคที่เต็มไปด้วยสงคราม หลักธรรมหลายอย่างที่ทรงได้แสดงไว้ สะท้อนให้เห็นถึงจิตใจเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และมุมมองต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องใกล้เคียงกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International humanitarian law – IHL) อันเป็นกฎหมายที่ถูกใช้ในยามสงครามซึ่งถูกเขียนขึ้นหลังสมัยพุทธกาลเป็นเวลากว่าพันปี กฎหมายกับศาสนา ความเหมือนที่แตกต่าง แม้ว่าศาสนาและกฎหมายจะไม่ได้มีข้อกำหนดและบทลงโทษที่ตรงกันทุกประการ หนึ่งในข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายกับศาสนา คือกฎหมายนั้นมีสภาพบังคับที่เกิดขึ้นในทันที แต่ศีลธรรมนั้นไม่ได้มีสภาพบังคับไว้แน่นอน ผู้ทำผิดกฎหมายฆ่าคนตายต้องติดคุก แต่ผู้ทำผิดศีลอาจถูกรังเกียจ ...