International Humanitarian Law

*SPOILERS* #แดนี่ชนะแรมซี่ ยืนหนึ่งขึ้นเป็นตัวละครที่ละเมิดกฎแห่งสงครามมากที่สุดในซีรีย์ Game of Thrones #GoT #GoTIHL

*SPOILERS* #แดนี่ชนะแรมซี่ ยืนหนึ่งขึ้นเป็นตัวละครที่ละเมิดกฎแห่งสงครามมากที่สุดในซีรีย์ Game of Thrones #GoT #GoTIHL

, บทความ / บล็อค

8 ซีซั่น 73 ตอน เราพบการกระทำผิดกฎหมายมนุษยธรรมมากถึง 137 ครั้ง ใน 42 ข้อหา นักกฎหมายของเราพบว่าบรรดาลอร์ดและเลดี้นิยมการทรมารมากที่สุด (21 ครั้ง) ตามหลังมาติดๆ คือการทำลายชีวิตพลรบที่ยอมแพ้หรือได้รับบาดเจ็บระหว่างสงคราม (17 ครั้ง) ก่อนเริ่มซีซั่น 8 แรมซีย์ โบลตัน จอมโฉดแห่งเวสเทอรอส เคยทำแต้มนำด้วยการละเมิดกฎแห่งสงครามมากถึง ...
งานมนุษยธรรมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality)

งานมนุษยธรรมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality)

, บทความ / บล็อค

เกมส์กับความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมอาจฟังไม่เข้ากันเท่าไหร่ แต่ที่คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The International Committee of the Red Cross – ICRC) สำนักงานกรุงเทพฯ เรามีแผนกออกแบบเกมส์ที่เปลี่ยนภาพความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality-VR) ให้เป็นเครื่องมือสำหรับฝึกสอนที่อาจช่วยผู้คนมากมาย ให้รอดจากเหตุความรุนแรงได้ในอนาคต “แผนกของเราใช้เทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงกิจกรรมของ ICRC ในรูปแบบต่างๆ” คริสเตียน รูแฟร์ หัวหน้าแผนก ...
*SPOILERS* มังกรเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุหรือไม่? อะไรทำให้ #แม่มังกร เป็นอาชญากรสงครามเบอร์หนึ่งประจำสัปดาห์ #GoT #GoTIHL

*SPOILERS* มังกรเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุหรือไม่? อะไรทำให้ #แม่มังกร เป็นอาชญากรสงครามเบอร์หนึ่งประจำสัปดาห์ #GoT #GoTIHL

, บทความ / บล็อค

หลังคิงส์แลนดิ้งโดนเผาจนค่าฝุ่นน่าจะแซงหน้าจังหวัดเชียงใหม่ คงไม่มีใครปฎิเสธได้ว่าราชินีแดนี่ กลายเป็นผู้ละเมิดกฎแห่งสงครามที่สร้างความสะเทือนใจให้ใครหลายคนจนยากจะกู้กลับ ในมุมมองกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law – IHL) การใช้มังกรถล่มเมืองถูกอธิบายไว้อย่าไร และแม่มังกรทำผิดกฎสงครามข้อไหนอีก? 1. มังกรเทียบเท่าอาวุธสงคราม – ในช่วงแรกของการต่อสู้ การใช้มังกรของแดนี่ถือว่าไม่ผิดกฎหมายมนุษยธรรม จริงอยู่ว่ามังกรดูจะเป็นอาวุธที่เกินกว่าเหตุ เพราะสร้างความเจ็บปวดทรมารให้ฝ่ายตรงข้ามจากการถูกเผาทั้งเป็น มังกรยังถูกมองเปรียบเทียบกับอาวุธสังหารอัตโนมัติ (killer robots หรือ lethal ...
*SPOILERS* ฆาตกรรม จับตัว โล่มนุษย์ รางวัลละเมิดกฎแห่งสงครามประจำสัปดาห์ตกเป็นของ #ควีนเซอร์ซี่ !!! #GoT #GoTIHL

*SPOILERS* ฆาตกรรม จับตัว โล่มนุษย์ รางวัลละเมิดกฎแห่งสงครามประจำสัปดาห์ตกเป็นของ #ควีนเซอร์ซี่ !!! #GoT #GoTIHL

, บทความ / บล็อค

นอกจากจะสวมมงกุฎราชินีแห่ง 7 อาณาจักร เซอร์ซี แลนนิสเตอร์ ยังเป็นตัวละครที่ทำผิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law – IHL) มากที่สุดประจำสัปดาห์ ควีนของเราทำผิดอะไรบ้าง ใคอร์ซี่บอกออกสื่อว่า ต้องการให้ประชาชนปลอดภัย ฟังดูดีแต่มีเจตนาแฝง เพราะเธอพูดเองในภายหลัง อยากใช้ประชาชนเป็นโล่มนุษย์ป้องกันการโจมตีของฝ่ายตรงข้าม การนำพลเรือนมาเป็นโล่กำบังในยามสงคราม ถือว่าละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ 2. จับตัวประกันและฆาตกรรม – ...
จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

จริงหรือไม่ที่การควบคุมอาวุธจากเทคโนโลยียุคใหม่ เป็นเรื่องฟุ่มเฟือยเกินไปในยามสันติ: สงครามโลกครั้งที่หนึ่งให้บทเรียนอะไรในประเด็นนี้

, บทความ / บล็อค

ในช่วงต้นศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด บรรดาวิศวกรผู้เปี่ยมด้วยจิตนาการจากประเทศฝรั่งเศสตลอดจนสหรัฐอเมริกา ต่างมุ่งหวังให้สิ่งประดิษฐ์ของตนเป็นเครื่องมือยับยั้งการก่อสงคราม ยับยังความสูญเสียมหาศาลที่อาจจะตามมาในภายหลัง อย่างไรก็ดี ตลอดช่วงระยะเวลาสี่ปีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความมุ่งหวังดังกล่าวกลับไม่เป็นดั่งใจเมื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถูกนำมาประยุกต์ใช้ในปฏิบัติการณ์ทางทหาร การคิดค้นพัฒนาอาวุธร้ายแรง ตลอดจนความเคลือบแคลงว่ต่อประเทศต่างๆ ว่าจะสามารถยืนหยัดในคุณค่าและหลักการของประเทศตนในยามรบกลายเป็นบทเรียนใหญ่ที่โลกทั้งใบต่างได้รับ จริงหรือไม่ที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งแสดงให้เห็นว่าหลักศีลธรรม รวมถึงหลักการตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ค.ศ.​1868 หรืออนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1899 และ 1907) ที่นำมาใช้เป็นเหตุผลในการต่อต้านการใช้อาวุธที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ถูกมองข้ามในยามที่ประเทศต้องเผชิญภาวะวิกฤต ค.ศ.1914-1918 กับการนำทฤษฎีความสัมพันธ์มาใช้อธิบายปรากฏการณ์ที่อาวุธชนิดใหม่กลายเป็นที่ยอมรับในสังคม ...
Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

Jean-Pictet Competition เมื่อการแข่งขันให้มากกว่าความรู้ทางกฎหมาย

, บทความ / บล็อค

“Taking the law out of the books” คือประโยคสั้นๆ อธิบายการแข่งขันด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศของ ICRC ที่เรียกกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Jean-Pictet Competition งานที่ว่าจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นเวทีสำหรับนักเรียนกฎหมายรุ่นใหม่ ให้ได้ลองใช้ความรู้ด้านกฎหมาย ในการว่าความร่วมกับผู้เข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ สิริกมล สุรทิณฑ์ (แป้ง), สาริสา ทีฆตระกูล (แอ๊นท์) และ ...
มองในมุมกฎหมาย ใครคืออาชญากรสงครามตัวร้ายที่สุดจาก Game of Thrones?

มองในมุมกฎหมาย ใครคืออาชญากรสงครามตัวร้ายที่สุดจาก Game of Thrones?

, บทความ / บล็อค

ฟังดูน่าอิจฉา เพื่อนร่วมงานของเราจากกาชาดออสเตรเลีย ใช้เวลาร่วม 6 สัปดาห์ในการดูย้อนหลังซีรีย์ดัง Game of Thrones เพื่อหาคำตอบว่าใครคือวายร้ายตัวใหญ่ที่ละเมิดกฎแห่งสงคราม (International humanitarian war -IHL) มากที่สุดในเรื่อง และหากเหล่าผู้นำจากเวสเทอรอสต้องตบเท้าขึ้นศาลพิจารณาคดีแบบในปัจจุบัน ใครกันจะติดดาวเป็นอาชญากรสงครามอันดับหนึ่ง? หลังผ่านการพิจารณาเหตุการณ์จาก 7 ซีซั่น ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายได้ช่วยกันตัดสินคดี จนมีผลออกมาอย่างที่เห็น แรมซีย์ โบลตัน จอมโฉดแห่งเวสเทอรอส  ...
หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

หนึ่งปีให้หลังกับอนุสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์: ภาพสะท้อนจากเมืองฮิโรชิมะ

, บทความ / บล็อค

ภาพความทรงจำครั้งเมื่อฉันไปเยือนพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมายังคงแจ่มชัด แม้ว่าในวันนั้นสภาพอากาศจะร้อนเหนอะหนะแต่ก็มีผู้คนเดินทางมายังพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เพื่อใช้เวลานึกคิดอย่างสงบนิ่ง ข้าพเจ้าสามารถสัมผัสได้ถึงความปรารถนาให้เกิดสันติภาพผ่านการกระทำของผู้คนที่ค่อยบรรจงวางดอกไม้และนกกระเรียนที่พับไว้อย่างประณีต ณ ฐานของอนุสรณ์ ญี่ปุ่นเป็นเพียงประเทศเดียวที่เคยประสบเคราะห์ภัยจากการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ โดยมีผู้รอดชีวิตจากระเบิดนิวเคลียร์หรือที่เรียกว่า ฮิบาคุชา (Hibakusha) จำนวนหลายพันคน ทิ้งไว้ซึ่งร่องรอยบาดแผลทางกายและจิตใจ บทเรียนที่โหดร้ายในเหตุการณ์ครั้งนี้จึงทำให้ประวัติและชื่อเมืองฮิโรชิมะกลายเป็นที่รู้จักทั่วโลก ดร. มาร์เซล ยูโนด จากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross: ICRC) ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 2)

, บทความ / บล็อค

ในตอนก่อนหน้า เราได้พูดถึงที่มาและความสำคัญของกิจกรรมแข่งขันความรู้ด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law หรือ IHL) กิจกรรมนี้จัดขึ้นทั้งในรูปแบบบทบาทสมมติ การว่าความศาลจำลอง ไปจนถึงการโต้วาที และมีการจัดการแข่งขันทั่วโลกร่วมทั้งในประเทศไทย ในบทนี้เราจะมาเล่าต่อ ว่าการเข้าร่วมแข่งขันในรายการที่ว่า สามารถสร้างประโยชน์ให้กับผู้เข้าแข่งขันไปจนถึงประเทศที่ให้การสนับสนุนได้อย่างไร เรียนรู้หลักการและคุณค่าทางมนุษยธรรมไปพร้อมกับตามหาเส้นทางอาชีพ การแข่งขัน  IHL อาศัยการจำลองสถานการณ์เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันนำความรู้จากบทเรียนมาปรับใช้กับเหตุการณ์จริง ไม่ว่าจะได้รับบทบาทสมมุติเป็นผู้แทน ICRC หรือที่ปรึกษากฎหมายของทั้งฝ่ายทหารและกลุ่มติดอาวุธ ผู้เข้าแข่งขันต้องให้เหตุผลที่เหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมเจรจาในประเด็นกฎหมายและมนุษยธรรมที่มีความแตกต่างกัน ...
การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 1)

การแข่งขันว่าความศาลจำลองกับการปลูกฝังหลักการทางมนุษยธรรมให้แก่เยาวชน (ตอนที่ 1)

, บทความ / บล็อค

กิจกรรมแข่งขันความรู้ด้านกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ(International Humanitarian Law หรือ IHL) เป็นกิจกรรมที่แพร่หลายไปทั่วโลก ไม่ว่าจะจัดขึ้นในรูปแบบบทบาทสมมติ การว่าความศาลจำลอง หรือการโต้วาที ต่างมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ “นำตัวกฎหมายมาปรับใช้ในสถานการณ์จริง สำหรับผู้เข้าแข่งขันประโยชน์ที่ได้รับคือโอกาสในการสร้างเครือข่ายในโลกของการทำงานและเพิ่มพูนความรู้ด้าน IHL  ทว่าการจัดกิจกรรมเหล่านี้ในระยะยาวจะช่วยสร้างเงื่อนไขทางสังคมที่ทำให้เกิดการเคารพชีวิต ศักดิ์ศรี และการปฏิบัติภารกิจทางด้านมนุษยธรรมที่เป็นกลาง หรือแม้กระทั่งการธำรงรักษาสันติภาพได้อย่างไร คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red ...