กฎหมายกับศาสนา

“ศาสนาในประเทศอินเดีย” Podcast เพื่อสำรวจความเชื่อโบราณกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

“ศาสนาในประเทศอินเดีย” Podcast เพื่อสำรวจความเชื่อโบราณกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

, บทความ

เป็นเวลากว่าพันปีที่ประเพณีฮินดูและความเชื่ออื่นๆ ในอินเดีย ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดกับข้อปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในการทำสงคราม ภาพสะท้อนความเชื่อเหล่านี้ มีให้เห็นอย่างเด่นชัดผ่านมหากาพย์ต่างๆ ทั้งมหาภารตะและรามายณะ ICRC มุ่งมั่นในการทำความเข้าใจหลักธรรมทางศาสนาเพื่อมองหาจุดร่วมและแตกต่างระหว่างความเชื่อโบราณกับหลักการกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ โดยใน Podcast ตอนล่าสุด เราได้เชิญอาจารย์ราจ บัลคานัน (Raj Balkaran) นักวิชาการด้านตำราเรื่องเล่าภาษาสันสกฤต จาก Oxford Center for Hindu Studies อาจารย์วอลเตอร์ ...
สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา

สงครามและศาสนา – ว่าด้วยกฎหมายมนุษยธรรมกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา

, บทความ / บล็อค

“แม้ในสนามรบเขาจักพิชิตนักรบนับพัน แต่เขาจักเป็นผู้พิชิตสูงส่งหากเขาพิชิตใจตนได้” -พระธรรมบท ข้อ 103 แม้ศาสนาพุทธจะไม่สนับสนุนการมีอยู่ของสงคราม (ไม่มีสงครามใดที่เป็นธรรม) ถึงอย่างนั้นพุทธศาสนาก็ยอมรับความเป็นจริงของการสู้รบและความทุกข์ทรมานที่สงครามก่อให้เกิด พระพุทธเจ้าทรงใช้ชีวิตในยุคที่เต็มไปด้วยสงคราม หลักธรรมหลายอย่างที่ทรงได้แสดงไว้ สะท้อนให้เห็นถึงจิตใจเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และมุมมองต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องใกล้เคียงกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International humanitarian law – IHL) อันเป็นกฎหมายที่ถูกใช้ในยามสงครามซึ่งถูกเขียนขึ้นหลังสมัยพุทธกาลเป็นเวลากว่าพันปี กฎหมายกับศาสนา ความเหมือนที่แตกต่าง แม้ว่าศาสนาและกฎหมายจะไม่ได้มีข้อกำหนดและบทลงโทษที่ตรงกันทุกประการ หนึ่งในข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายกับศาสนา ...