เชื้อชาติ

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 3)

, บทความ / บล็อค

เส้นทางสู่การ ‘ร่วมพลังกับการดำเนินงานด้านมนุษยธรรม‘ เมื่อมีการหยิบยกข้อโต้แย้งขึ้นมาว่า เราจะต้องคำนึงถึงศาสนา เพศ เชื้อชาติ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ของผู้ได้รับผลกระทบเพื่อให้เราปรับเปลี่ยนการดำเนินการด้านมนุษยธรรมหรือไม่ คำตอบที่พบบ่อยสุดคือ วิธีการดังกล่าวนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อหลักการด้านมนุษยธรรม ยกตัวอย่างเช่น เมื่อพูดถึงเรื่องความไม่ลำเอียง (impartiality) การวิเคราะห์เช่นนี้ได้แยกให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติบนฐานของเชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกันและไม่ควรเหมือนกันอย่างไร ไม่ใช่แค่การมองเห็นเรื่องของ ‘เชื้อชาติ เพศ และเครื่องหมายทางสังคมอื่น ...
เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

เชื้อชาติ ความเที่ยงธรรม และมรดกยุคอาณานิคมใหม่: การระบุซึ่งหนทางสู่การดำเนินงานด้านมนุษยธรรมอย่างมีจริยธรรม (Part 2)

, บทความ / บล็อค

มรดกยุคอาณานิคมใหม่ – เราฟังเสียงของใคร? ไม่ต้องสงสัยเลยว่า องค์กรด้านมนุษยธรรมนั้นได้ช่วยเหลือชีวิตคนนับล้านด้วยการปฏิบัติหน้าที่แนวหน้าในพื้นที่สุดอันตรายในโลก อย่างไรก็ตาม การดำเนินการด้านมนุษยธรรมบางประการนั้นยังคงฝังรากอยู่ในมรดกยุคอาณานิคมใหม่ ซึ่งหน่วงรั้งความพยายามในการส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าที่แท้จริง ทั้งนี้ ในการสร้างสถาบันที่มีความเที่ยงธรรมและต่อต้าน/ขจัดการเหยียดเชื้อชาติ ภาคหน่วยงานด้านมนุษยธรรมจะต้องยอมรับบทบาทของมรดกยุคอาณานิคมใหม่ที่ยังคงมีบทบาทอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการคุ้มครอง รวมทั้งภายในองค์กรด้านมนุษยธรรมเองด้วย ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านความเที่ยงธรรมในเชิงระบบมากที่สุด ดังนั้น มรดกยุคอาณานิคมใหม่จึงหมายถึง กฎหมาย นโยบาย และการดำเนินการต่าง ๆ ที่อยู่ในองค์กรด้านมนุษยธรรม ซึ่งบังคับใช้พลวัตของอำนาจอาณานิคมของผู้คนและสถาบันหรือองค์กรจากประเทศโลกที่หนึ่งที่กดขี่และใช้อำนาจเหนือประเทศโลกที่สามอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างชัด ๆ ...