นางาซากิ

อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

8:15 นาฬิกาที่ถูกหยุดไว้ในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 8 โมงเช้ากับอีก 15 นาที คือเวลาที่ฮิโรชิมะ ถูกถล่มราบเป็นหน้ากลองด้วยอานุภาพจากระเบิดปรมาณูชนิดยูเรเนียม ระเบิดถูกหย่อนจากน่านฟ้าโดย ‘บี-ซัง’ หรือ ‘มิสเตอร์บี’ ชื่อที่ชาวญี่ปุ่นใช้เรียกเครื่องบิน บี-29 อย่างทั้งเกรงใจ ทั้งไม่ชอบใจ แต่ก็คุ้นเคย ใครจะรู้ว่า การมาถึงของบี-ซังในครั้งนั้นต่างออกไป เพราะทันทีที่ระเบิดถูกปล่อยลงมา ...
75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

75 ปี หลังเหตุการณ์ระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ ภัยจากนิวเคลียร์ยังคงอยู่ กลุ่มองค์กรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมกันยุตินิวเคลียร์

, News / บทความ / ไทย

75 ปีก่อน ในช่วงเช้าของวันที่ 6 สิงหาคม 2488 เครื่องบิน B-29 ได้ปล่อยอาวุธอันน่ากลัวที่คิดค้นขึ้นใหม่ใส่พื้นที่ของเมืองฮิโรชิมา ระเบิดนิวเคลียร์ลูกดังกล่าวทำลายเมืองจนราบเป็นหน้ากลอง คร่าชีวิตผู้คน 70,000 คนในพริบตา และอีกกว่าหมื่นชีวิตบาดเจ็บสาหัส และในวันที่ 9 สิงหาคม ระเบิดนิวเคลียร์ลูกที่ 2 ได้ทำลายตัวเมืองนางาซากิ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตทันที 39,000 คน ...
E-Briefing เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ฮิโรชิม่าและนางาซากิ

E-Briefing เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ฮิโรชิม่าและนางาซากิ

, บทความ / บล็อค

International Review of the Red Cross เปิดตัว E-Briefing เอกสารออนไลน์ที่รวบรวมเรื่องราวเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ฮิโรชิม่าและนางาซากิรวมถึงบันทึกคำให้การของ Hibakusha หรือผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ในครั้งนั้น  คำบอกเล่าของนักหนังสือพิมพ์ในวันที่สหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณูถล่มทั้งสองเมือง ภาพถ่ายเก่าแก่หาชมได้ยาก และอินโฟกราฟฟิคของสถิติข้อมูลสำคัญๆต่างๆ คลิ๊กเพื่อลิงค์ไปเอกสาร E-Briefing ที่นี่
คราบน้ำตาของผู้รอดชีวิตจากเหตุระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ

คราบน้ำตาของผู้รอดชีวิตจากเหตุระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ

, บทความ / บล็อค

ในวันที่ 9 สิงหาคม 2488 ระเบิดปรมาณูลูกที่สองถล่มเมืองนางาซากิของญี่ปุ่น เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้รอดชีวิตหรือที่เรียกว่า hibakusha เพียง 190,000 คนและทั้งหมดยังคงจดจำภาพของความตาย การสูญเสียและกัมมันตรังสีได้อย่างชัดเจน เราจะไปติดตามเรื่องราวของชายสองคนที่รอดชีวิตจากเหตุการณ์ในครั้งนั้น พวกเขาจะย้อนรำลึกถึงวันที่มืดมิดที่สุดในชีวิตของพวกเขาให้เราฟัง บทสัมภาษณ์นี้คัดและแปลมาจากหนังสือ International Review of the Red Cross จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ  นายซาดาโอะ ยามาโมโตะ ...