ระเบิดนิวเคลียร์

ปฏิบัติการทุ่นระเบิด: อิทธิพลที่มีต่อกฎหมายและนโยบายด้านการจัดการกับเศษซากอาวุธสงครามประเภทสารพิษ

ปฏิบัติการทุ่นระเบิด: อิทธิพลที่มีต่อกฎหมายและนโยบายด้านการจัดการกับเศษซากอาวุธสงครามประเภทสารพิษ

ปฏิบัติการทุ่นระเบิด (Mine action)มีความสอดคล้องกับการเคลื่อนไหวป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการขัดกันทางอาวุธที่ตระหนักถึงความจำเป็นของการจัดการกับภัยอันตรายที่เกิดขึ้นแล้ว เนื่องจากมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดผลกระทบของทุ่นระเบิดและเศษซากอาวุธสงครามประเภทระเบิด และถือเป็นต้นแบบของการช่วยเหลือผู้ประสบภัยและฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่มีเศษซากอาวุธสงครามประเภทสารพิษตกค้างอยู่ บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความเรื่อง สงคราม กฎหมาย และสิ่งแวดล้อม ภายใต้ความร่วมมือกับ Conflict and Environment Observatory  โดยมี บอนนี ดอกเคอตี จากคลินิกสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศของ Harvard Law School และ Human ...
อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

อาวุธนิวเคลียร์ผิดกฎหมายหรือไม่? อะไรคือผลบังคับใช้จากสนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

8:15 นาฬิกาที่ถูกหยุดไว้ในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 8 โมงเช้ากับอีก 15 นาที คือเวลาที่ฮิโรชิมะ ถูกถล่มราบเป็นหน้ากลองด้วยอานุภาพจากระเบิดปรมาณูชนิดยูเรเนียม ระเบิดถูกหย่อนจากน่านฟ้าโดย ‘บี-ซัง’ หรือ ‘มิสเตอร์บี’ ชื่อที่ชาวญี่ปุ่นใช้เรียกเครื่องบิน บี-29 อย่างทั้งเกรงใจ ทั้งไม่ชอบใจ แต่ก็คุ้นเคย ใครจะรู้ว่า การมาถึงของบี-ซังในครั้งนั้นต่างออกไป เพราะทันทีที่ระเบิดถูกปล่อยลงมา ...
An unnecessary evil : การต่อสู้ทางวาทกรรมเรื่องความหมายของอาวุธนิวเคลียร์

An unnecessary evil : การต่อสู้ทางวาทกรรมเรื่องความหมายของอาวุธนิวเคลียร์

, บทความ / บล็อค

 ‘Necessary Evil’ คือเครื่องบินโบอิ้ง B-29-45-MO Superfortress ที่ได้รับมอบหมายให้ถ่ายภาพผลกระทบจากการทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมาเมื่อปี 1945 คำให้การของบรรดาเหยื่อและผู้รอดชีวิตจากอาวุธนิวเคลียร์กระตุ้นให้เราจินตนาการถึงสิ่งที่เรามิอาจจินตนาการได้ คิดถึงสิ่งที่ไม่อาจคาดคิดได้ และเป็นปากเป็นเสียงให้กับความทุกข์ทรมานที่เกิดจากการระเบิดปรมาณูที่ไม่อาจบอกกล่าวออกมาได้เอง และเนื่องในโอกาสครบรอบ 75 ปี นับตั้งแต่การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ แมกนุส โลโวล์ด (Magnus Løvold) ที่ปรึกษาด้านนโยบายอาวุธประจำฝ่ายกฎหมายของ ICRC จึงออกมาเรียกร้องให้เราทุกคนร่วมกันให้เกียรติและระลึกถึงผู้รอดชีวิตที่สัมผัสกับอาวุธนิวเคลียร์เพื่อตระหนักถึงความเป็นจริงอันแสนโหดร้ายของระเบิดนิวเคลียร์ โดยมิต้องเสริมเพิ่มและลดทอนอะไรมากกว่าการห้ามและจำกัดเครื่องมือแห่งสงครามที่น่ากลัวและไม่ยุติธรรมนี้ ผมจำครั้งแรกที่ไปเยือนเมืองฮิโรชิม่าได้ ...
คราบน้ำตาของผู้รอดชีวิตจากเหตุระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ

คราบน้ำตาของผู้รอดชีวิตจากเหตุระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ

, บทความ / บล็อค

ในวันที่ 9 สิงหาคม 2488 ระเบิดปรมาณูลูกที่สองถล่มเมืองนางาซากิของญี่ปุ่น เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้รอดชีวิตหรือที่เรียกว่า hibakusha เพียง 190,000 คนและทั้งหมดยังคงจดจำภาพของความตาย การสูญเสียและกัมมันตรังสีได้อย่างชัดเจน เราจะไปติดตามเรื่องราวของชายสองคนที่รอดชีวิตจากเหตุการณ์ในครั้งนั้น พวกเขาจะย้อนรำลึกถึงวันที่มืดมิดที่สุดในชีวิตของพวกเขาให้เราฟัง บทสัมภาษณ์นี้คัดและแปลมาจากหนังสือ International Review of the Red Cross จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ  นายซาดาโอะ ยามาโมโตะ ...