Project on the Interface between Buddhism and IHL

Project on the Interface between Buddhism and IHL

This project on Buddhism and IHL does not merely explore correspondences, but also investigates how Buddhism might help to reduce suffering during armed conflict on its own terms.

Reference Library on Islam and IHL / Humanitarian Principles

Reference Library on Islam and IHL / Humanitarian Principles

This online reference library of books, articles, reports and multimedia provides a vital resource on the topics of Islam and IHL, and Islam and humanitarian principles.

Faith in Humanity Film

Faith in Humanity Film

The ICRC engages worldwide with religious scholars, academics, humanitarian workers and other segments of civil society to explore correspondences between humanitarian principles and religious teachings. This film is a contribution ...

Muslim Scholars Present Their Perspectives on Islamic Law and IHL

Muslim Scholars Present Their Perspectives on Islamic Law and IHL

In this series of videos, eight Muslim scholars from around the world present their perspectives on topics related to Islamic law and International Humanitarian Law (IHL).

Asia Regional Conference on Humanitarian Negotiation and Access

Asia Regional Conference on Humanitarian Negotiation and Access

From 8 to 9 March 2018, over 120 participants from 18 countries gathered in Jakarta, Indonesia for the Regional Conference on Humanitarian Action and Negotiation in Asia.

Refreshing Humanitarian Action Conference

Refreshing Humanitarian Action Conference

Humanitarian aid is no longer dominated by Western donors and international aid agencies. Dealing with disasters, bringing relief to war zones, etc. all involve local, national and regional bodies.

พุทธศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ : การบรรยายโดย แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ

พุทธศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ : การบรรยายโดย แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ

พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่หลายคนรู้จักและเข้าใจว่าเป็นศาสนาแห่งอหิงสา (ความไม่เบียดเบียนและการเว้นจากการทำร้าย) และบ่อยครั้งมีการนำพุทธศาสนามาใช้ในบริบทของความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการป้องกัน การเจรจา รวมถึงแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง แต่ที่ผ่านมา มีการวิจัยค่อนข้างน้อยเกี่ยวกับทัศนคติของพุทธศาสนาที่มีต่อสถานการณ์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นโดยไม่อาจป้องกันได้หรือยังเกิดขึ้นอยู่ ดังนั้น ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) จึงพยายามเชื่อมประสานและสัมพันธ์กับวงการพุทธศาสนาทั้งในภูมิภาคเอเชียและภูมิภาคอื่น เพื่อบุกเบิกริเริ่มศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทัศนคติของพุทธศาสนาและหลักธรรมคำสอนที่มีต่อการทำสงคราม รวมถึงความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของพุทธศาสนากับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law – IHL) ในการบรรเทาอันตรายและความทุกข์ทรมานจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้น แอนดรูว์ บาร์เทิล-สมิธ ...
กฎหมายมนุษยธรรมอิสลาม: การนำเสนอโดย ดร. ซีอาเลาะห์ ราห์มานี

กฎหมายมนุษยธรรมอิสลาม: การนำเสนอโดย ดร. ซีอาเลาะห์ ราห์มานี

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ได้ศึกษาความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) ที่มีร่วมกับศาสนาต่าง ๆ มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว โดยมุ่งหมายสำคัญของการศึกษาคือเพื่อเรียนรู้และกระตุ้นส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยอภิปรายระหว่างกันเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่มีความสำคัญ เช่น ศาสนาอิสลามนั้นเป็นศาสนาหนึ่งที่มีชุดกฎหมายมนุษยธรรมเป็นของตัวเองและนำชุดกฎหมายนี้มาใช้ในการบรรเทาความทุกข์ทรมานในสถานการณ์การขัดกันทางอาวุธ ในการบรรยายอันเป็นส่วนหนึ่งของโครงการหลักสูตร “ความขัดแย้ง ความรุนแรง และงานด้านมนุษยธรรม” ซึ่ง สถาบันพระปกเกล้า จัดขึ้นร่วมกับ ICRC และมูลนิธิสถาบันการจัดการวิถีพุทธเพื่อสุขและสันติ (มูลนิธิ สกพ.) ...
ศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL): การนำเสนอเกี่ยวกับการทำงานของ ICRC ร่วมกับแวดวงศาสนา

ศาสนาและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL): การนำเสนอเกี่ยวกับการทำงานของ ICRC ร่วมกับแวดวงศาสนา

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศร่วมกับ สถาบันพระปกเกล้า และ มูลนิธิสถาบันการจัดการวิถีพุทธเพื่อสุขและสันติ (มูลนิธิ สกพ.) จัดโครงการหลักสูตร สำหรับผู้เข้ารับการอบรมซึ่งประกอบด้วยบุคคลในระดับผู้นำจากภาคธุรกิจ ตำรวจ ทหาร องค์กรศาสนา และหน่วยงานวิชาการ โดยจัดอบรมผ่านระบบออนไลน์เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ในการจัดอบรมครั้งนี้ มีการบรรยายเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับการทำงานด้านมนุษยธรรมในสถานการณ์การขัดกันทางอาวุธ รวมทั้งฐานทางกฎหมายของการทำงานด้านมนุษยธรรมที่ระบุไว้ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) เพื่อให้ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความท้าทายต่าง ๆ ของการทำงานเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในสถานการณ์การสู้รบ นอกจากนี้ การจัดอบรมยังได้กล่าวถึงความสำคัญของการสร้างเครือข่ายและการประสานความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานด้านมนุษยธรรมกับหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานทางศาสนา ...